Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52802
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิทิต ปานสุข | - |
dc.contributor.advisor | รักติพงษ์ สหมิตรมงคล | - |
dc.contributor.author | สุวัชร ตันวัฒนะประทีป | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-04-25T09:44:37Z | - |
dc.date.available | 2017-04-25T09:44:37Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52802 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่ได้รับผลกระทบจากเพลิงไหม้จะมีการสูญเสียกำลัง ทั้งในส่วนตัวคอนกรีต ตลอดจนแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเหล็กเสริมและคอนกรีต ปัญหาที่ตามมาหลังจากเกิดเพลิงไหม้ก็คือจะทำอย่างไรให้อาคารสามารถกลับมาใช้งานได้อย่างปกติโดยให้เสียค่าใช้จ่ายและเวลาให้เหมาะสมที่สุด ซึ่งการซ่อมแซมอาคารหลังถูกเพลิงไหม้ด้วยวัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใยเป็นทางเลือกหนึ่งที่กำลังได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาถึงวิธีการซ่อมแซมคอนกรีตเสริมเหล็กหลังถูกเผาไฟ ด้วยแท่งพอลิเมอร์เสริมเส้นใยที่ติดตั้งแบบใกล้ผิว(Near Surface Mount) โดยงานวิจัยนี้จะแบ่งการทดสอบออกเป็น 3 การทดสอบ โดยการทดสอบแรกจะเป็นการทดสอบกำลังรับแรงดึงของแท่งพอลิเมอร์เสริมเส้นใยคาร์บอน ซึ่งพฤติกรรมการรับแรงดึงเป็นเส้นตรงไม่มีจุดครากเหมือนเหล็ก การทดสอบต่อมาจะเป็นการทดสอบกำลังยึดเหนี่ยว โดยทดสอบแบบดึงโดยตรงซึ่งสามารถนำมาเขียนความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นดึงกับระยะยึดเหนี่ยวต่อเส้นผ่านศูนย์กลางเพื่อที่จะหาระยะยึดเหนี่ยวที่เหมาะสมในการติดตั้งแต่ละวิธีต่อไป การทดสอบสุดท้ายเป็นการทดสอบโครงสร้างรับแรงดัดโดยจะหล่อพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กให้ได้ขนาดตามต้องการและนำไปเผาในเตาเผาที่มีการควบคุมอุณหภูมิตามมาตรฐานแล้วจึงนำมาติดแท่งพอลิเมอร์เสริมเส้นใยคาร์บอนด้วยวิธีการติดตั้งใกล้ผิวในด้านล่างของพื้นด้วยรูปแบบต่างๆ หลังจากนั้นจึงทำการทดสอบหาค่ากำลังการรับน้ำหนักและระยะโก่งตัวที่เกิดขึ้นโดยตำแหน่งการติดตั้งและการกระจายตัวของแท่งวัสดุเสริมเส้นใยนั้นส่งผลอย่างมากต่อกำลังของโครงสร้างหลังการซ่อมแซม ซึ่งวิธีการที่เหมาะสมทั้งในด้านความสะดวกของขั้นตอนการติดตั้งและในด้านกำลังรับน้ำหนักคือการติดตั้งแบบวางแท่งวัสดุเสริมเส้นใยบนชั้นวัสดุซ่อมโดยวางแท่งพอลิเมอร์เสริมเส้นใยให้ตรงกับเหล็กเสริม | en_US |
dc.description.abstractalternative | Post-fire damaged reinforced concrete structure was loss both concrete strength and bond between concrete and reinforcing steel. The problem is how to re-activated by optimizing cost and time. The reparation using fiber reinforced composite material is an interesting choice for the fire deteriorated building components. The main purpose of this research is to study about the method to repair fire damaged material with carbon fiber polymer rod near surface of specimens or Near Surface Mount totally 3 experiments. There are direct tensile strength of rod, bond strength by direct pull-out test, and flexural strength of fire deteriorated slab. The special behavior of tensile strength test is to observe a linearly result without any yielding point until failure. The relationship of tensile stress against anchor depth per diameter is introduced in order to find an appropriate depth for each installation. Then, a carbon fiber reinforced polymer rod was installed into post-fire slab for flexural test. The location and distribution of polymer rod installed into specimens play an important role on the repaired material strength. Finally, the appropriate way to repair a damaged structure considering both convenience and strength condition is to place the polymer rod on repairing material layers in the same line with original reinforcing steel. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1825 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก -- การบูรณะและการสร้างใหม่ | en_US |
dc.subject | อัคคีภัย | en_US |
dc.subject | โพลิเมอร์ | en_US |
dc.subject | วัสดุเชิงประกอบเสริมเส้นใย | en_US |
dc.subject | Buildings, Reinforced concrete -- Repair and reconstruction | en_US |
dc.subject | Fires | en_US |
dc.subject | Polymers | en_US |
dc.subject | Fibrous composites | en_US |
dc.title | การซ่อมแซมองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กรับแรงดัดหลังถูกเพลิงไหม้โดยใช้แท่งพอลิเมอร์เสริมเส้นใยติดตั้งแบบใกล้ผิว | en_US |
dc.title.alternative | Repair of flexural reinforced concrete members after fire using near-surface mounted fiber reinforced polymer rods | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | withit.p@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.1825 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
suwatchara_ta.pdf | 3.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.