Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52860
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐวุฒิ หนูไพโรจน์ | - |
dc.contributor.author | กาญจนา ศิลาวราเวทย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-05-16T09:10:31Z | - |
dc.date.available | 2017-05-16T09:10:31Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52860 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | การขยายตัวอย่างรวดเร็วของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้การให้บริการมัลติมีเดียแบบสตรีมมิงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย การสื่อสารแบบมัลติคาสต์ระดับชั้นแอพพลิเคชันเป็นทางเลือกหนึ่งที่ใช้เผยแพร่สตรีมมิงผ่านอินเตอรืเน็ต แต่การสื่อสารชนิดนี้อาศัยการส่งข้อมูลแบบยูนิคาสต์เข้ามาช่วย จึงอาจทำให้ข้อมูลเดียวกันถูกส่งซ้ำเส้นทางเดิม ส่งผลให้มีการใช้แบนด์วิดท์อย่างไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำให้การทำสตรีมมิงไม่สามารถรองรับผู้ใช้จำนวนมากได้ งานวิจัยนี้นำเสนออัลกอริทึมที่ใช้สร้างมัลติคาสต์ทรีด้วยวิธีการจัดกลุ่มโหนดตามพื้นที่ (Locality-aware Clustering: LAC) โดยใช้เขตที่ตั้ง (Landmark) เป็นข้อมูลช่วยเหลือในการจัดโครงสร้างของทรีเพื่อให้ได้มัลติคาสต์ทรีที่ใช้แบนด์วิดท์อย่างมีประสิทธิภาพ รองรับผู้ใช้งานจำนวนมาก และนำไปใช้จริงกับการให้บริการถ่ายทอดสดได้ การทดสอบอัลกอริทึมจะใช้การจำลองเครือข่ายเชิงกายภาพ และวิเคราะห์การทำงานของมัลติคาสต์รีเทียบกับอัลกอริทึมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้แก่ ซิกแซก (Zigzag) เอ็มบีเอ็มที (MBMT) และเอ็มเอสเอ็มที (MSMT) ผลที่ได้พบว่าการจัดกลุ่มโดยใช้เขตที่ตั้งทำให้ได้มัลติคาสต์ทรีที่มีจำนวนแพ็กเก็ตซ้ำน้อยกว่าอัลกอริทึมอื่น ใช้เวลาในการส่งข้อมูลไปยังโหนดสุดท้ายน้อยกว่าอัลกอริทึมอื่น และมีสัดส่วนการใช้แบนด์วิดท์บนลิงค์คอขวดต่ำกว่าอัลกอริทึมอื่น แสดงให้เห็นว่ามัลติคาสต์ทรีที่มีการจัดกลุ่มโดยใช้เขตที่ตั้งนี้สามารถใช้แบนด์วิดท์ในเครือข่ายซ้อนทับได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าอัลกอริทึมอื่น ซึ่งทำให้สามรถรองรับผู้ใช้งานได้มากขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | With the rapid growth of Internet, media streaming plays an important role for growing demand of media service. Application Level Multicast (ALM) has emerged as a key alternative to enable broadcast the streaming media over the Internet. However, ALM uses the unicast communication in background. Thus, this will generate to a lot of link stresses, or packets duplication, in the same physical links. As the result, many ALMS cannot utilize bandwidth efficiently and become poor y scalable when being used in media streaming services. This research proposed an ALM algorithm approach called Locality-Aware Clustering (LAC), which utilizes the knowledge of network topology, called landmarks, as hints to construct an eff~cient ALM multicast tree. Our proposed algorithm is bandwidth efficient, highly scalable, and practical for live streaming services. Our proposed algor~thmis evaluated by comparing with ZIGZAG, MSMT, and MBMT using simulation. The results show that our LAC tree has lesser stress, lesser overlay delay, and lesser util~zation on bottleneck link. Hence, the LAC tree demonstrates better overlay utilization and offers better scalability than other traditional ALM approaches. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.781 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การแพร่สัญญาณเฉพาะกลุ่ม (เครือข่ายคอมพิวเตอร์) | en_US |
dc.subject | การสื่อสารแบบสื่อประสม | en_US |
dc.subject | เครือข่ายคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.subject | ระบบส่งสื่อประสมผ่านไอพี | en_US |
dc.subject | Multicasting (Computer networks) | en_US |
dc.subject | Multimedia communications | en_US |
dc.subject | Computer networks | en_US |
dc.subject | Internet Protocol multimedia subsystem | en_US |
dc.title | เครือข่ายซ้อนทับที่มีประสิทธิภาพของการทำมัลติคาสตร์ระดับชั้นแอพพลิเคชันบนเพียร์ทูเพียร์สำหรับการถ่ายทอดสด | en_US |
dc.title.alternative | An efficient overlay network of peer-to-peer application-level multicast for live multimedia streaming data | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | natawut.n@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.781 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
kanchana_sil_front.pdf | 709.49 kB | Adobe PDF | View/Open | |
kanchana_sil_ch1.pdf | 640.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
kanchana_sil_ch2.pdf | 813.03 kB | Adobe PDF | View/Open | |
kanchana_sil_ch3.pdf | 943.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
kanchana_sil_ch4.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
kanchana_sil_ch5.pdf | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
kanchana_sil_ch6.pdf | 289.26 kB | Adobe PDF | View/Open | |
kanchana_sil_back.pdf | 386.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.