Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52888
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Parkpoom Tengamnuay | - |
dc.contributor.author | Woraanong Prugsakij | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences | - |
dc.date.accessioned | 2017-05-24T04:53:39Z | - |
dc.date.available | 2017-05-24T04:53:39Z | - |
dc.date.issued | 2006 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52888 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc. in Pharm)--Chulalongkorn University, 2006 | en_US |
dc.description.abstract | Artocarpus lakoocha heartwood extract, locally called Puag-Haad, and its main active constituent oxyresveratrol are known to be a potent tyrosinase inhibitor and antioxidant, given them promising potential for use in dermatological and cosmetic products. The primary objectives of this study were to evaluate Puag-Haad and oxyresveratrol for their anti-aging activities and relevant mechanisms based on several in vitro assays, including proliferative/cytotoxic effects on cultured fibroblasts and possible protection against oxidative stress (UV-A and hydrogen peroxide) - induced DNA and cell damages, as well as their anti-collagenase activity. The results were compared with commonly used antioxidants, i.e., epigallocatechin gallate (EGCG), French pine bark extract (pine bark), L-ascorbic acid and Trolox©. Puag-Haad and all other antioxidants were found to stimulate the fibroblast proliferation in a 25 – 50 μg/mL range based on the MTT assay. As the concentration was increased to 100 μg/mL, the proliferative effect slightly decreased and became cytotoxic at 250 μg/mL for all antioxidants except for pine bark and Trolox©. All the test antioxidants were also capable of similarly protecting the fibroblasts against H₂O₂-induced cell damages at all studied concentrations (25, 50 and 100 μg/mL) except for L-ascorbic acid which could provide protection only at 25 μg/mL. Regarding the protection against UV-A radiation, L-ascorbic acid was the most effective, providing significant protection at all concentrations (25, 50 and 100 μg/mL), whereas Puag-Haad and other antioxidants similarly provided partial protection mainly at 100 μg/mL. Evaluation of fibroblast membrane irritation based on the LDH assay revealed that Puag-Haad, oxyresveratrol, pine bark and Trolox© at 100 μg/mL, appeared to produce equally low LDH release under UV-A, whereas L-ascorbic acid gave the highest release followed by EGCG. Puag-Haad and oxyresveratrol also showed a good anti-collagenase activity, with the respective mean IC₅₀ of 58.8 and 153.1 μg/mL, which were less potent than EGCG (8.0 μg/mL) and pine bark (21.9 μg/mL) but much more potent than L-ascorbic acid (1.331 mg/mL) and Trolox© (2.348 mg/mL). Moreover, both Puag-Haad and oxyresveratrol could reduce the extent of DNA damages caused by UV-A as detected by flow cytometry. In conclusion, the multi-functional beneficial effects of A. lakoocha extracts may have a strong potential uses in cosmetics and other health-related products. | en_US |
dc.description.abstractalternative | สารสกัดจากแก่นมะหาด หรือปวกหาด และสารสำคัญ คือสารออกซีเรสเวอราทรอล ซึ่งเป็นที่รู้กันแล้ว ว่ามีฤทธิ์อย่างแรงในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ทำให้สารทั้งคู่มักจะถูกนำมาใช้ใน ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเครื่องสำอางที่ใช้กับผิวหนัง วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ ประเมินฤทธิ์ชะลอความแก่และ กลไกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของปวกหาด และสารออกซีเรสเวอราทรอลในหลอดทดลอง รวมถึงผลแบ่งตัวและความ เป็นพิษต่อเซลล์ไฟโบรบลาสต์เพาะเลี้ยง และความเป็นไปได้ที่จะป้องกันการเกิดอนุมูลอิสระ (รังสียูวีเอ และ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์) ซึ่งสามารถทำให้ดีเอ็นเอและเซลล์ถูกทำลาย เช่นเดียวกับความสามารถในการยับยั้ง เอนไซม์คอลลาจิเนส ซึ่งผลที่ได้จะเปรียบเทียบกับสารต้านอนุมูลอิสระที่ใช้กันทั่วไป เช่น อีพิแกลโลแคททีชิน (อีจีซีจี), สารสกัดเปลือกสนฝรั่งเศส (เปลือกสน), วิตามินซี และโทรลอกซ์ ผลของปวกหาดและสารต้านอนุมูล อิสระทั้งหมดสามารถกระตุ้นการแบ่งตัวของเซลล์ไฟโบรบลาสต์ได้ที่ความเข้มข้น 25 ถึง 50 ไมโครกรัมต่อ มิลลิลิตร โดยใช้การวิคราะห์ด้วยวิธีเอ็มทีที และเมื่อความเข้มข้นเพิ่มถึง 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ผลต่อการ แบ่งตัวจะค่อย ๆ ลดลงจนเกิดความเป็นพิษที่ 250 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรในสารที่นำมาทดสอบทุกตัว ยกเว้น เปลือกสน และโทรลอกซ์ สารต้านอนุมูลอิสระทุกตัวมีฤทธิ์คล้ายกันในการป้องกันเซลล์ไฟโบรบลาสต์ถูกทำลาย ด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ที่ทุกความเข้มข้นที่ทำการทดลอง (25, 50 และ 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) ยกเว้นวิตามินซี สามารถป้องกันได้ถึงเพียงที่ความเข้มข้น 25 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ส่วนการป้องกันการถูก ทำลายจากรังสียูวีเอ วิตามินซีมีฤทธิ์การป้องกันสูงสุด โดยสามารถป้องกันได้ในทุกความเข้มข้นที่ทำการทดลอง (25, 50 และ 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) ขณะที่ปวกหาด และสารต้านอนุมูลอิสระตัวอื่นมีฤทธิ์คล้ายกัน โดย จะได้อยู่ที่ความเข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร การประเมินผลของการรบกวนเยื่อหุ้มเซลล์ไฟโบรบลาสต์ โดยวิธีแอลดีเอช พบว่าปวกหาด, สารออกซีเรสเวอราทรอล, เปลือกสน และโทรลอกซ์ที่ความเข้มข้น 100 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ให้ค่าแอลดีเอชเท่ากันภายใต้รังสียูวีเอ ขณะที่วิตามินซีให้ค่าสูงสุด ตามด้วยอีจีซีจี จากการทดลองได้พบอีกว่าปวกหาดและสารออกซีเรสเวอราทรอลแสดงฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์คอลลาจิเนสที่ดี โดยมี ค่า IC50 คือ 58.8 และ 153.1 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ซึ่งแรงน้อยกว่าอีจีซีจี (8.0 ไมโครกรัมต่อ มิลลิลิตร) และเปลือกสน (21.9 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) แต่แรงมากกว่าวิตามินซี (1.331 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) และโทรลอกซ์ (2.348 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) นอกจากนี้ ทั้งปวกหาดและสารออกซีเรสเวอราทรอล ช่วยลดการ ถูกทำลายของดีเอ็นเอจากรังสียูวีเอได้ด้วย โดยใช้วิธีวัดโฟลว์ไซโตเมตรี โดยสรุปแล้ว ด้วยคุณสมบัติมากมายของ สารสกัดจาก A. lakoocha ทำให้เป็นประโยชน์ต่อการนำมาใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อสุขภาพ | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1701 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | แก่นมะหาด | en_US |
dc.subject | เครื่องสำอาง | en_US |
dc.title | In vitro evaluation of anti-aging activity of Artocarpus lakoocha heartwood extract | en_US |
dc.title.alternative | การประเมินฤทธิ์ชะลอความแก่ของสารสกัดจากแก่นมะหาดในหลอดทดลอง | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science in Pharmacy | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Pharmacy | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | parkpoom.t@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1701 | - |
Appears in Collections: | Pharm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
woraanong_pr_front.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
woraanong_pr_ch1.pdf | 648.13 kB | Adobe PDF | View/Open | |
woraanong_pr_ch2.pdf | 4.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
woraanong_pr_ch3.pdf | 2.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
woraanong_pr_ch4.pdf | 6.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
woraanong_pr_ch5.pdf | 624.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
woraanong_pr_back.pdf | 4.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.