Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจิตรา สวัสดิวงษ์-
dc.contributor.authorสุณีย์ สิงห์ประไพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-06-11T08:17:22Z-
dc.date.available2017-06-11T08:17:22Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745785733-
dc.identifier.urihttp://ezproxy.car.chula.ac.th:2074/handle/123456789/52942-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ฝึกอ่านด้วยการเล่าเรื่องและการเขียนเรื่อง ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษานารีวิทยา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2533 จำนวน 60 คน ซึ่งได้จาการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง ผู้วิจัยได้แบ่งตัวอย่างประชากรออกเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่มๆ ละ 30 คน และกำหนดให้กลุ่มหนึ่งฝึกอ่านด้วยการเล่าเรื่อง อีกกลุ่มหนึ่งฝึกอ่านด้วยการเขียนเรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แผนการสอน จำนวน 10 แผน และแบบสอบวัดความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นสำหรับใช้ทดสอบตัวอย่างประชากรหลังการทดลอง วิเคราะห์คะแนนความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษหลังการทดลองโดยการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุ่มที่ฝึกอ่านด้วยการเล่าเรื่องและกลุ่มที่ฝึกอ่านด้วยการเขียนเรื่อง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare English reading comprehension of mathayom suksa five students between the groups practicing by retelling and by rewriting. The samples of this study were 60 mathayom suksa five students of Suksanareewitthaya School in the academic year of 1990. They were purposively sampled and divided into two experimental groups each of which consisted of 30 students. The researcher assigned one group practicing by retelling and the other group practicing by rewriting. The instruments of this study were ten daily-lesson plans and a researcher-constructed English reading comprehension test which was administered to test the sample after the experiment. The after-experiment English reading comprehension scores were analyzed by t-test. It was found that the English reading comprehension of the students practicing by retelling was not different from that of the students practicing by rewriting at the .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การอ่านen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การเขียนen_US
dc.subjectความเข้าใจในการอ่านen_US
dc.subjectEnglish language -- Readingen_US
dc.subjectEnglish language -- Writingen_US
dc.subjectReading comprehensionen_US
dc.titleการเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มที่ฝึกอ่านด้วยการเล่าเรื่อง และกลุ่มที่ฝึกอ่านด้วยการเขียนเรื่องen_US
dc.title.alternativeComparison of English reading comprehension of mathayom suksa five students between the groups practicing by retelling and by rewritingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสอนภาษาอังกฤษen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunee_si_front.pdf525.81 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_si_ch1.pdf598.81 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_si_ch2.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open
Sunee_si_ch3.pdf580.59 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_si_ch4.pdf221.85 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_si_ch5.pdf376.24 kBAdobe PDFView/Open
Sunee_si_back.pdf10.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.