Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52948
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทุมพร จามรมาน-
dc.contributor.authorสุดใจ ขันทองคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-06-11T09:15:33Z-
dc.date.available2017-06-11T09:15:33Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745784303-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52948-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แบบวัดความซื่อสัตย์นี้สร้างเป็น 2 รูปแบบ คือ แบบสถานการณ์ข้อความ และแบบสถานการณ์ภาพ แบบละ 20 ข้อ ใช้เวลาตอบทั้งหมด 50 นาที กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2532 ในเขตจังหวัดลพบุรี จำนวน 991 คน จากประชากร 46,939 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายใน คำนวณค่าโดยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coefficient) ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .7027 2. ความตรงตามโครงสร้าง คำนวณโดยวิธีวิเคราะห์ตัวประกอบด้วยการสกัดตัวประกอบด้วยวิธี PC (Principal Component Analysis) หมุนแกนแบบออโธกอนอล (Orthogonal) ด้วยวิธี แวริแมกซ์ (Varimax) ได้ตัวประกอบที่สำคัญ 8 ตัวประกอบ ซึ่งวัดคุณลักษณะด้านความซื่อสัตย์ คือ 1. การยอมรับผิดและการปฏิบัติตามคำสั่ง 2. การตรงต่อเวลานัดหมาย 3. การตรงต่อเวลาทำงาน 4. การปฏิบัติตามสัญญา 5. การปฏิบัติตามข้อตกลง 6. การไม่เอาเงินของผู้อื่น 7. การไม่เอาของผู้อื่น 8. การพูดความจริง 3. ความตรงตามเกณฑ์ คำนวณค่าโดยวิธีสหสัมพันธ์แบบพอยท์ไบซีเรียล (Point Biserial Correlation) ระหว่างคะแนนจากแบบวัดกับลักษณะความซื่อสัตย์ที่ประเมินด้วยการสังเกตของครู ได้ค่าความสัมพันธ์ เท่ากับ .490 และมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ความตรงเชิงจำแนก คำนวณด้วยวิธีการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยรายข้อจากแบบวัดความซื่อสัตย์ของกลุ่มนักเรียนที่มีความซื่อสัตย์สูงกับกลุ่มที่มีความซื่อสัตย์ต่ำ ที่จำแนกด้วยการสังเกตพฤติกรรมโดยครูประจำชั้น ด้วยสถิติทดสอบที (t-test) ปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยของข้อกระทงทุกข้อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop the Honesty Scale for Prathom Suksa Six students. The scale consisted of situation-type and picture-type, with 20 items each. Time to complete the scale was 50 minutes. Nine hundred ninety one Prathom Suksa Six students in the academic year 1989 in Lopburi Province were randomly sampled from the population of 46,939. The results were as follows: 1. The Cronbach’s Alpha internal consistency was reported to be .7072. 2. The construct validity which was found by factor analysis method extracted by the Principal Component Analysis and rotated by the Varimax Method showed 8 factors, namely; 1) Confession of One’s Guilt and Complying with Commands, 2) Punctuality of Appointed times, 3) Punctuality of work Times, 4) Honouring Promises, 5) Honouring Agreements, 6) Not Stealing Money or Valuables, 7) Not Stealing Properties, and 8) Telling the Truth. 3. The criterion related validity computed by the Point Biserial indicated the correlation between the scores obtained from the scale and the scores from teacher’s observation to be .49 and statistically significant at the level of .01. 4. The discriminant validity was obtained by t-test. On the basis of their teachers’ opinion, the students were grouped into the high honesty and the low honesty groups. By means of t-test, mean scores of every single item discriminated significantly at the levelen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen_US
dc.subjectความซื่อสัตย์en_US
dc.subjectHigh school studentsen_US
dc.subjectHonestyen_US
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความซื่อสัตย์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6en_US
dc.title.alternativeDevelopment of honesty scale for prathom suksa six studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sudjai_kh_front.pdf541.21 kBAdobe PDFView/Open
Sudjai_kh_ch1.pdf597.46 kBAdobe PDFView/Open
Sudjai_kh_ch2.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Sudjai_kh_ch3.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
Sudjai_kh_ch4.pdf827.5 kBAdobe PDFView/Open
Sudjai_kh_ch5.pdf860.66 kBAdobe PDFView/Open
Sudjai_kh_back.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.