Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNaowarat Kanchanakhan-
dc.contributor.authorLalita Sangngern-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. College of Public Health Sciences-
dc.date.accessioned2017-06-20T11:46:40Z-
dc.date.available2017-06-20T11:46:40Z-
dc.date.issued2013-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53018-
dc.descriptionThesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2013en_US
dc.description.abstractMost of the study population aged 60 to 96 years, two third of them were women and the majority of the elderly achieved primary education 66.9% and 43.6 % could read and write a little. The average monthly income of elderly was less than 2,500 baht per month, 77.9% did not work. The average life arrangement of elderly lived with 1 – 5 family member. Most of the accommodation were their owner. The bedrooms of the elderly was on the ground floor of the house. Besides, most of them sleep on the bed and use a flush toilet. Perception of health status was good 52.9%, fair 28.2 % and not good 18.8%. Elderly have underlying diagnosed by physician (78%) and 71.4% under universal coverage. Major health problems mainly found were hypertension (57.8%), diabetes (31.0%) and dyslipidemia (31.0%) . Minor illness included headache (23.3%), muscle pain (19.8%), and fever (10.3%). When getting a minor illness, the elderly choose their own medicine byself and when the illness was treated. They got to government hospitals and private sectors, respectively. Assessibility to health center, most of them transportation was personal car and motorcycle. Elderly use time between 15 – 30 minutes to waiting at health center. For overall satisfaction was satisfied. Factors affecting the health status of statistical significance were the level of education. The ability to read and write, health problems and family relationship. Factor affecting health seeking behaviours of statistical significance was satisfaction of health center.en_US
dc.description.abstractalternativeการศึกษานี้มีขึ้นเพื่อศึกษาสุขภาวะและพฤติกรรมการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัด เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โดยใช้การเก็บข้อมูลแบบสัมภาษณ์จากแบบสอบถามกับกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนแออัดจานวน 287 คน ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2556 ประชากรที่ศึกษามีอายุระหว่าง 60 ถึง 99 ปี โดย 2 ใน 3 เป็นเพศหญิง และผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเป็น 66.9 % สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้เล็กน้อย (43.6 %) ผู้สูงอายุมีรายได้ต่อเดือนโดยเฉลี่ยน้อยกว่า 2,500 บาทต่อเดือน 77.9 % ไม่ได้ประกอบอาชีพ โดยเฉลี่ยผู้สูงอายุจะอาศัยอยู่กับครอบครัวโดยมีสมาชิกในบ้าน 1 – 5 คน โดยส่วนมากผู้สูงอายุจะอาศัยร่วมกับบุตรสาวและคู่สมรส บ้านที่พักอาศัยเป็นบ้านของตนเอง โดยห้องนอนจะอาศัยอยู่ที่ชั้นหนึ่งของบ้าน สถานที่นอนจะนอนบนเตียงและใช้ส้วมแบบชักโครก การรับรู้สุขภาวะของผู้สูงอายุอยู่ในเกณฑ์ดี 52.9 % สุขภาวะพอใช้ 28.2% และสุขภาวะไม่ดี 18.8 % 78 % มีโรคประจาตัวที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ 71.4% ของผู้สูงอายุใช้สิทธิการรักษาประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปัญหาสุขภาพที่สาคัญ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง 74.1% โรคเบาหวาน 40% และโรคไขมันในเลือดสูง 34.4% ภาวะความเจ็บป่วยเล็กน้อยที่พบบ่อยได้แก่ ปวดศีรษะ (53.1%) ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (19.8%) และมีไข้ (10.3 %) เมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ผู้สูงอายุจะเลือกยารับประทานเองเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อเจ็บป่วยมากขึ้นหรือเป็นโรคเรื้อรังจะเข้ารับการรักษาที่สถานพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนตามลาดับ การไปรับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข ส่วนใหญ่เดินทางโดยใช้รถยนต์ส่วนตัวและรถจักรยานยนต์ ใช้เวลารอรับการรักษาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขประมาณ 15 – 30 นาที ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึงพอใจต่อการให้บริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขในท้องถิ่น ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาวะอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ ระดับการศึกษา ความสามารถในการอ่านและเขียน ปัญหาสุขภาพและ ความสัมพันธ์ในครอบครัว และปัจจัยที่มีผลต่อการแสวงหาการรักษาของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือความพึงพอใจต่อการให้บริการของศูนย์บริการสาธารณสุขen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1863-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectOlder people -- Thailand -- Donmuang (Bangkok)en_US
dc.subjectWell-being -- Thailand -- Donmuang (Bangkok)en_US
dc.subjectHealth behavior -- Thailand -- Donmuang (Bangkok)en_US
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ไทย -- ดอนเมือง (กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectสุขภาวะ -- ไทย -- ดอนเมือง (กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย -- ดอนเมือง (กรุงเทพฯ)en_US
dc.titleHealth status and health seeking behaviours among the elderly in The Donmuang Slum Community, Bangkok, Thailanden_US
dc.title.alternativeการศึกษาสุขภาวะและพฤติกรรมการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Public Healthen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePublic Healthen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNaowarat.K@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1863-
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
lalita_sa.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.