Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53031
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นครทิพย์ พร้อมพูล | - |
dc.contributor.author | ฐิติวรรณ ศรีอุดร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-06-21T09:06:50Z | - |
dc.date.available | 2017-06-21T09:06:50Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53031 | - |
dc.description | วิทยานิพนธิ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | การพัฒนาซอฟต์แวร์ในขั้นตอนการเก็บรวบรวมความต้องการนั้น คำอธิบายยูสเคสถูกใช้สำหรับระบุความต้องการและเป็นข้อตกลงระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้พัฒนาและผู้ใช้ซอฟต์แวร์สามารถที่จะทำความเข้าใจร่วมกัน ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ขึ้นใหม่นั้นมีความเป็นไปได้ว่าระบบที่จะทำการพัฒนามีส่วนการทำงานที่คล้ายคลึงกับระบบที่ได้พัฒนาเสร็จสิ้นไปก่อนแล้ว ดังนั้นเพื่อลดระยะเวลาและค่าใช้จ่ายในการพัฒนาซอฟต์แวร์ลง จึงมีการนำระเบียบวิธีในการสร้างสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ ซึ่งสนับสนุนการใช้ซ้ำเข้ามามีส่วนช่วยในการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย งานวิทยานิพนธ์นี้ได้นำเสนอแนวคิดเรื่องการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศเข้ามาใช้ในการจัดการกับเอกสารคำอธิบายยูสเคสสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ รวมถึงพัฒนาเครื่องมือที่ช่วยในการจัดเก็บและค้นคืนด้วย โดยสามารถทำการค้นคือในรูปแบบการใช้คำสำคัญ และค้นคืนตามโครงสร้างของเอกสารคำอธิบายยูสเคสสายผลติภัณฑ์ สำหรับการค้นคืนใช้หลักการของแบบจำลองเวกเตอร์สเปซมาคำนวณค่าความคล้ายกัน และทำการประเมิฯประสิทธิภาพของระบบด้วย ค่าระลึก ค่าความแม่นยำและค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค ผลการทดลองที่ได้จากงานวิทยานิพนธ์นี้แสดงให้เห็นว่าการค้นคือยูสเคสสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ทั้งในแบบใช้คำสำคัญและแบบพิจาณาโครงสร้างยูสเคสให้ผลการค้นคืนได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ได้มากกว่าการค้นคืนยูสเคสทั้วไป โดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของค่าระลึกค่าความแม่นยำ และค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิคที่เพิ่มขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | Use case description is used in requirements gathering phase for requirements identification used as an agreement among all stakeholders. In a new software development, it is possible that the functionalities of the new software are similar to the prevous ones. Thus, in order to reduce time and cost of software development, software product line methodology is introduced to support the reuse concept. This thesis proposes the storage and retrieval process for software product line use case description. In addition, a supporting tool was developed to serve the proposed process. The similarity computation of the searching process in designed based on vector space model using structure of software product line use case description and key words. Three metrics evaluation recall, precision and harmonic mean are used to evaluate the proposed system. The experimental result indicates that the software product line retrieval using keyword and software product line use case structure give a better result than regular search method from the evaluation using the three measurements. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.613 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.subject | วิศวกรรมสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.subject | ซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา | en_US |
dc.subject | ยูเอ็มแอล (วิทยาการคอมพิวเตอร์) | en_US |
dc.subject | Software engineering | en_US |
dc.subject | Software product line engineering | en_US |
dc.subject | Computer software -- Development | en_US |
dc.subject | UML (Computer science) | en_US |
dc.title | การจัดเก็บและค้นคืนคำอธิบายยูสเคสสำหรับสายผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.title.alternative | Use case description storage and retrieval for software product line | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | nakornthip.s@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.613 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
thitiwan_sr_front.pdf | 1.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
thitiwan_sr_ch1.pdf | 869.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
thitiwan_sr_ch2.pdf | 4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
thitiwan_sr_ch3.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
thitiwan_sr_ch4.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open | |
thitiwan_sr_ch5.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open | |
thitiwan_sr_ch6.pdf | 476.5 kB | Adobe PDF | View/Open | |
thitiwan_sr_back.pdf | 4.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.