Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัญชนา พานิชอัตรา-
dc.contributor.authorศิริขวัญ ศิริชัยวงศ์สกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-21T13:53:10Z-
dc.date.available2017-06-21T13:53:10Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53036-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติทางกายภาพของพอร์ตแลนด์ ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยผสมกับบิสมัทออกไซด์ และไวท์โปรรูทเอ็มทีเอ วัสดุและวิธีการ วิเคราะห์ส่วนประกอบทางเคมีและขนาดอนุภาคของพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตใน ประเทศไทยผสมกับบิสมัทออกไซด์ และไวท์โปรรูทเอ็มทีเอ โดยใช้เครื่องเอ็กซเรย์อนาไลติคัลไมโคร สโคปโพรบ และเครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุภาค วิเคราะห์ลักษณะสัณฐานวิทยาของวัสดุโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ อิเล็คตรอนชนิดส่องกราด จากนั้นวัดความเป็นกรด – เบส ทุก 1 นาที เป็นเวลา 1 ชั่วโมง โดยใช้เครื่องวัดความ เป็นกรด – เบส ที่มีเทมเพอร์เรเจอร์คอมเพนเสทอิเล็กโทรด วัดความทึบรังสีของวัสดุ โดยนำมาเปรียบเทียบกับ อลูมิเนียมสเต็ปเวดจ์ ตามมาตรฐานไอเอสโอ 6876(2001) ส่วนเวลาแข็งตัววัดตามคำแนะนำของสมาคมวิจัยวัสดุ แห่งสหรัฐอเมริกา ภายใต้มาตรฐานไอเอสโอ 6876(2001) ความทนแรงอัดและความสามารถในการละลายได้วัด ตามไอเอสโอ 9917-1(2003) และมาตรฐานเอดีเอ หมายเลข 30 ตามลำดับ วิเคราะห์ผลการทดลองใช้สถิติ เชิงพรรณนา การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและสองทาง และการทดสอบที ผลการศึกษา ส่วนประกอบทางเคมี ขนาดอนุภาค และลักษณะสัณฐานวิทยาของพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สี ขาวที่ผลิตในประเทศไทยทั้ง 2 บริษัทคือ ตรากิเลนและตราช้างเผือกผสมกับบิสมัทออกไซด์คล้ายกับไวท์ โปรรูทเอ็มทีเอ ความทึบรังสีของพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยทั้ง 2 บริษัทผสมกับบิสมัท ออกไซด์มีค่ามากกว่าไวท์โปรรูทเอ็มทีเออย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ไวท์โปรรูทเอ็มทีเอ ตราช้างเผือก และ ตรากิเลน ผสมกับบิสมัทออกไซด์มีค่าความเป็นกรด – เบส 12.5, 12.5 และ 12.6 ที่เวลา 23, 24 และ 16 นาที ตามลำดับ ตราช้างเผือกผสมกับบิสมัทออกไซด์จะมีเวลาเริ่มต้นแข็งตัว และเวลาแข็งตัวเต็มที่น้อยสุด นอกจากนี้ยังมีความทนแรงอัดมากที่สุดหลังจาก 1 วัน (37.03 เมกกะปาสคาล) แต่ไวท์โปรรูทเอ็มทีเอจะมี ความทนแรงอัดมากที่สุดหลังจาก 21 วัน (449.69 เมกกะปาสคาล) และไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ของตัวอย่างทั้งหมดในการทดสอบสภาพการละลายได้ที่ 1 วัน 7 วัน และ 21 วัน (p > 0.05) สรุป พอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยทั้ง 2 บริษัทผสมกับบิสมัทออกไซด์ และไวท์ โปรรูทเอ็มทีเอมีส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติทางกายภาพคล้ายกันen_US
dc.description.abstractalternativeObjective To compare the chemical composition and physical properties of Thai White Portland Cement adding bismuth oxide and White ProRoot®MTA. Materials and Methods X-ray analytical microscope probe and particle size analyzer were used to determine chemical composition and particle size of two Thai White Portland cements adding bismuth oxide and White ProRoot® MTA. Scanning electron microscope (SEM) was used to analyze morphological characteristic. Then pH meter with temperature compensated electrode was used to measure pH value every 1 minute for 1 hour. Radiopacity of the samples compared to aluminium step wedge under ISO 6876(2001). Setting times were determined under American Society of Testing and Materials recommended by ISO 6876(2001). Compressive strength and solubility determined under ISO 9917-1(2003) and ADA specification no. 30, respectively. Descriptive statistical analysis , One way ANOVA, Two way ANOVA and t-test were used to analyze the experimental datas. Result Chemical composition, particle size and morphological characteristic of two Thai White Portland cements, KILAN and WHITE ELEPHANT brand, adding bismuth oxide were similar to White ProRoot®MTA. Radiopacity of two Thai brands adding bismuth oxide was significantly more than White ProRoot®MTA (p < 0.05). White ProRoot®MTA, WHITE ELEPHANT and KILAN brand adding bismuth oxide showed pH 12.5, 12.5 and 12.6 at 23, 24 and 16 minutes, respectively. WHITE ELEPHANT brand adding bismuth oxide exhibited the lowest initial and final setting times and also showed the highest compressive strength after 1 day (37.027 MPa). However, White ProRoot®MTA displayed the highest compressive strength after 21 days (449.686 MPa). The result of solubility test revealed no statistic different between all samples at 1, 7 and 21 days. (p > 0.05) Conclusion Two Thai White Portland cements adding bismuth oxide and White ProRoot®MTA were similar in chemical composition and physical properties.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.238-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์en_US
dc.subjectวัสดุบูรณะ (ทันตกรรม)en_US
dc.subjectPortland cementen_US
dc.subjectFillings (Dentistry)en_US
dc.subjectProRoot Mineral Trioxide Aggregateen_US
dc.subjectBismuth Oxideen_US
dc.subjectDental Cementsen_US
dc.titleการศึกษาส่วนประกอบทางเคมีและคุณสมบัติทางกายภาพระหว่างพอร์ตแลนด์ซีเมนต์สีขาวที่ผลิตในประเทศไทยผสมกับบิสมัทออกไซด์เทียบกับไวท์โปรรูทเอ็มทีเอen_US
dc.title.alternativeChemical compositions and physical properties of Thai white portland cement with bismuth oxide versus white ProRoot MTAen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาเอ็นโดดอนต์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpanchana@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.238-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirikwan_si_front.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
sirikwan_si_ch1.pdf732.27 kBAdobe PDFView/Open
sirikwan_si_ch2.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
sirikwan_si_ch3.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
sirikwan_si_ch4.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open
sirikwan_si_ch5.pdf665.75 kBAdobe PDFView/Open
sirikwan_si_back.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.