Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ-
dc.contributor.authorปิลันธนา แสงจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลััย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-01-04T11:43:46Z-
dc.date.available2008-01-04T11:43:46Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743327517-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5304-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการรวมกลุ่มกับน้ำมันเป็นกระบวนการทางกลที่ใช้ทำความสะอาดถ่านหิน อาศัยการผสมน้ำมันลงในสารแขวนลอยของถ่านหินในสารละลาย น้ำมันที่เติมลงไปนั้นจะจับกับส่วนของสารประกอบอินทรีย์ที่มีสมบัติไม่ชอบน้ำ ทำให้สามารถแยกส่วนของสารประกอบแร่ธาตุซึ่งมีสมบัติชอบน้ำออกจากถ่านหินได้ ดังนั้นกระบวนการนี้จึงสามารถขจัดเถ้าและกำมะถันออกจากถ่านหิน งานวิจัยนี้ศึกษาการทำความสะอาดถ่านหินลิไนต์ เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง โดยการรวมกลุ่มกับน้ำมันปาล์มดิบและน้ำมันเตา ศึกษาผลของตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการทำความสะอาดถ่านหิน ได้แก่ ชนิดน้ำมัน (น้ำมันปาล์มดิบและน้ำมันเตา) ปริมาณน้ำมัน (ร้อยละ 10-50 โดยน้ำหนักถ่านหิน) ขนาดถ่านหิน (ขนาดต่ำกว่า 75 ไมโครเมตร 75-250 ไมโครเมตร และ 250-500 ไมโครเมตร) ปริมาณถ่านหินในของผสม (ร้อยละ 10-50) และเวลาที่ใช้ในการรวมกลุ่มถ่านหิน (5-40 นาที) ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า การรวมกลุ่มถ่านหินด้วยน้ำปาล์มดิบสามารถขจัดเถ้าและกำมะถันได้ดีกว่าน้ำมันเตา ภาวะที่ดีที่สุดในการทดลอง คือ การรวมกลุ่มถ่านหินขนาดต่ำกว่า 75 ไมโครเมตรด้วยน้ำมันปาล์มดิบ ปริมาณถ่านหินในของผสมร้อยละ 15 อัตราส่วนระหว่างน้ำมันต่อถ่านหินร้อยละ 30 โดยน้ำหนัก ใช้เวลาในการรวมกลุ่ม 15 นาที ซึ่งให้ผลในการขจัดเถ้าร้อยละ 70.68 ขจัดกำมะถันรวมร้อยละ 73.73 ขจัดกำมะถันไพไรต์ร้อยละ 96.76 ขจัดกำมะถันซัลเฟตร้อยละ 96.76 ขจัดกำมะถันอินทรีย์ร้อยละ 53.68 ได้ผลิตภัณฑ์กลุ่มถ่านหินผสมน้ำมันร้อยละ 72.45en
dc.description.abstractalternativeOil agglomeration is a physical coal cleaning process, which involves the intense mixing of oil and slurry of coal. The difference in surface hydrophobicity causes the oil to agglomerate preferentially with the hydrophobic organic coal material, thus the separation of the organic portion from the hydrophilic inorganic mineral matter occurs. This technique can remove part of ash forming mineral and sulfur from coal. Cleaning of lignite from Mae Moh mine at Lumpang province by oil agglomeration with crude palm oil and fuel oil was studied. The influence of oil type (crude palm and fuel oil), oil content (oil to coal ratio 10-50% by wt.), coal size (case 75, 75-250, 250-500 microns), coal ratio in slurry (10-50% by wt.) and agglomeration time (5-40 min) on ash reduction was studied. The optimum conditions of coal cleaning were: less than 75 microns coal agglomerate with palm oil, coal in slurry 15%, oil to coal ratio 30% by wt. and 15 min agglomeration time. The ash reduction was 70.68% with 73.73% total sulfur reduction and 96.46% pyritic sulfur reduction. The sulfate sulfur reduction was 93.10% with 53.68% organic sulfur reduction and the yield was 72.45.en
dc.format.extent6215707 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectถ่านหิน -- การกำจัดกำมะถันen
dc.subjectน้ำมันเตาen
dc.subjectน้ำมันปาล์มen
dc.titleการทำความสะอาดถ่านหินแม่เมาะโดยการรวมกลุ่มกับน้ำมันen
dc.title.alternativeCleaning of Mae Moh coal by oil agglomerationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorppattara@netserv.chula.ac.th, Pattarapan.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piluntana.pdf6.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.