Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorวุฒิพงศ์ ศุภวิทยาภินันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-24T07:40:36Z-
dc.date.available2017-06-24T07:40:36Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53115-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตาม สถานภาพ ความต่อเนื่องของกิจกรรมการจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมที่เคยเข้าร่วม โครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม และรวบรวมข้อคิดเห็น ความต้องการของโรงงาน ในการผลักดัน สนับสนุน ส่งเสริม เพื่อให้เกิดการจัดการอนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต และวิเคราะห์หาปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานที่ต่อเนื่อง โดยได้ทำการคัดเลือกกลุ่มโรงงาน จากโรงงานประเภทควบคุม จำนวน 9 กลุ่มอุตสาหกรรม และโรงงานขนาดกลางและขนาดย่อม แล้วนำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาประเมินสถานภาพ โดยใช้ข้อมูลการดำเนินงานและการพัฒนาศักยภาพของทีมอนุรักษ์พลังงานและระบบการจัดการพลังงานเป็นกรอบในการประเมิน และจัดกลุ่มโรงงานตามระดับความสามารถในการดำเนินการด้านอนุรักษ์พลังงาน และประเมินผลสำเร็จกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งวิเคราะห์หาปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินพบว่าจำนวนโรงงาน 77.8% จากกลุ่มตัวอย่างโรงงาน มีสถานภาพในการดำเนินการจัดการด้านอนุรักษ์พลังงานที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า โรงงานส่วนใหญ่มีการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานที่ต่อเนื่อง ภายหลังจบโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม และปัจจัยสำคัญที่ทำให้โรงงานประสบผลสำเร็จ คือ แรงกระตุ้นจากฝ่ายบริหาร และตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พลังงานของพนักงานทุกคน โดยมีอุปสรรคที่สำคัญ คือ การขาดงบประมาณและพนักงานขาดความรู้เชิงเทคนิค ในการคิดกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานใหม่ๆ นอกจากนี้แรงจูงใจในการอนุรักษ์พลังงานระยะยาวของพนักงาน เป็นอีกส่วนที่สำคัญที่จะช่วยให้การอนุรักษ์พลังงานดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ผลการประเมิน และการวิเคราะห์ดังกล่าว สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาการดำเนินการด้านอนุรักษ์ พลังงานของภาคอุตสาหกรรมต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to also status of energy management continuation in industrial sector attended VE and include comments, needs to promote energy management and analyze to find success factor. The research starts with choosing randomly industry from nine type industry of control industry and SME industry. Thereafter, evaluated status industry by data and development of conservative team and energy management system. After that, divided groups from ability of energy management level and evaluated success energy conserve activity and analyze to find success factor of continuous conservation. The results reveal seventy-seven point eight percents from sampling had have status of energy management in group excellence and group standard. As indicator almost industry had made continuous energy conservation. Success factor of continuous conservation was motivation from executive and attention to energy conservation of staff. An important obstruction was a few of budget and not enough knowledge for think out the new envergy conserve activity. Moreover, motive long term was a part of importance for continuous energy conservation. In addition, they could use the trend of develop to make energy conservation industrial sector.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1223-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรม -- การอนุรักษ์พลังงานen_US
dc.subjectโรงงาน -- การใช้พลังงานen_US
dc.subjectIndustries -- Energy conservationen_US
dc.subjectFactories -- Energy consumptionen_US
dc.titleการประเมินความต่อเนื่องของกิจกรรมการจัดการการอนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรมen_US
dc.title.alternativeEvaluation of energy management continuation for energy conservation in industrial sectoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorJeirapat.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1223-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wuttipong_su_front.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
wuttipong_su_ch1.pdf375.48 kBAdobe PDFView/Open
wuttipong_su_ch2.pdf676.2 kBAdobe PDFView/Open
wuttipong_su_ch3.pdf8.02 MBAdobe PDFView/Open
wuttipong_su_ch4.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open
wuttipong_su_ch5.pdf4.25 MBAdobe PDFView/Open
wuttipong_su_ch6.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
wuttipong_su_back.pdf11.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.