Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุพิน อังสุโรจน์-
dc.contributor.authorหทัยรัตน์ โชคชัยธนากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-09T06:18:52Z-
dc.date.available2008-01-09T06:18:52Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741311524-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5367-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการพยาบาล ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการประกันคุณภาพบริการพยาบาล งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยกึ่งวิกฤต และไม่วิกฤตที่มารับบริการในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลราชวิถี จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 2 ชุด ได้แก่ โปรแกรมการประกันคุณภาพบริการพยาบาล งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการพยาบาล ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจ ของผู้ป่วยต่อบริการพยาบาล โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคมีค่าเท่ากับ .94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อบริการพยาบาล ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการประกันคุณภาพบริการพยาบาล งานอุบัติเหตุและฉุกเฉินไม่แตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeTo compare the patients's satisfaction with nursing care they received before and after using Emergency Nursing Quality Assurance Program. Population were patients in Emergency Department, Rajavithi Hospital. The sample, 60 patients in Emergency Department, Rajavithi Hospital (30 for before using Emergency Nursing Quality Assurance Program and 30 for after using Emergency Nursing Quality Assurance Program), were selected by purposive sample. Two instruments used to collect data were Emergency Nursing Quality Assurance Program and patients' satisfaction with nursing care questionnaires. The instruments were tested for content validity and the Cronbach alpha coefficient were .94. The data were analyzed by using mean, standard deviation and t-test statistics. Major finding was as follows: The patients' satisfaction with nursing care before and after using Emergency Nursing Quality Assurance Program was not differeceen
dc.format.extent884157 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพยาบาลen
dc.subjectประกันคุณภาพen
dc.subjectความพอใจของผู้ป่วยen
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลen
dc.titleผลของการใช้โปรแกรมการประกันคุณภาพบริการพยาบาล ที่มีต่อความพึงพอใจของผู้ป่วย งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลราชวิถีen
dc.title.alternativeThe effect of using quality assurance program on patients' satisfaction, Emergency Nursing Department, Rajavithi Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisoryupin.a@chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hatairat.pdf863.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.