Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.authorสุภัทรชัย ชมพันธุ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-10T11:14:44Z-
dc.date.available2008-01-10T11:14:44Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741300484-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5406-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการเข้ารหัสเสียงพูดภาษาไทย ตามข้อกำหนดของมาตรฐานการเข้ารหัสเสียงพูดธรรมชาติ MPEG-4 (Moving Picture Expert Group-4) หลักการเข้ารหัสนี้อยู่บนพื้นฐานของการเข้ารหัสด้วยวิธี MP-CELP (Multi Pulse-based Code-Excited Linear Prediction) โดยสมบัติของ MP-CELP เอง และการเพิ่มส่วนขยายเข้าไป ทำให้สามารถรองรับการทำงานที่หลายอัตราการเข้ารหัส (Multiple Bitrate) และสามารถปรับระดับอัตราการเข้ารหัสได้ (Bitrate Scalability) ตามลำดับ เทคนิคการวิเคราะห์พิตช์ด้วยความละเอียดสูง (High Pitch Delay Resolution technique) ที่ระดับความละเอียด 1/2 1/3 และ 1/4 ถูกนำเสนอและประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุงการเข้ารหัสเสียงพูดภาษาไทยด้วยวิธี MP-CELP สำหรับการวิเคราะห์พิตช์ดีเลย์ การเข้ารหัสเสียงพูดที่จำลองขึ้น สามารถปรับปรุงคุณภาพเสียงพูดภาษาไทยให้อยู่ในระดับที่เท่าเทียมกับเสียงพูดภาษาอังกฤษ ด้วยอัตราการเข้ารหัสที่เพิ่มขึ้น 200-400 bps คือจากเดิม 5,600-14,600 bps เป็น 5,800-15,00 pbs สำหรับส่งข้อมูลเศษส่วนพิตช์ เทียบได้กับอัตราบีบอัด 4.27-11.03 เท่า ส่วนเวลาประวิงจะเท่ากับมาตรฐานการเข้ารหัส ITU G.729 คือ 15 มิลลิวินาทีen
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes Thai speech coding according to the natural speech coding of MPEG-4 standards. The operation principle of this codec is based on the MP-CELP coding. By the MP-CELP's attributes and embedding enhancement layers, it can support the special functionalities of multiple bitrates and bitrate scalabilities. In the pitch delay analysis, high pitch delay resolution technique of 1/2, 1/3 and 1/4 pitch fractions is proposed and adopted to improve Thai speech MP-CELP coding quality. By simulating the proposed codec, the results show improvement of Thai speech quality, nearly equivalent to that of English. The operating bitrates are increased by 200-400 bps for the additional pitch fraction information from 5,600-14,600 bps to 5,800-15,000 bps corresponding to the compression ratio of 4.27-11.03, while the coding delay of 15 ms is equal to that of the ITU G.729 stardard.en
dc.format.extent1983402 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเสียงพูด -- การสังเคราะห์en
dc.subjectการบีบอัดข้อมูลen
dc.titleการบีบอัดเสียงพูดภาษาไทยโดยใช้การเข้ารหัส MP-CELP ตามข้อกำหนดของ MPEG-4en
dc.title.alternativeThai speech compression based on MP-CELP according to MPEG-4 requirementsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.authorSomchai.J@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supattarachai.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.