Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/54954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราณี ทิพย์รัตน์-
dc.contributor.authorกอปร์ธรรม นีละไพจิตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-10-30T04:21:38Z-
dc.date.available2017-10-30T04:21:38Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/54954-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractความสำเร็จในการยุติความขัดแย้งอาเจะห์ ค.ศ. 2005 ส่วนใหญ่ได้รับการอธิบายในกระแสหลักว่าเป็นผลกระทบจากเหตุภัยพิบัติสึนามิ ค.ศ.2004 ซึ่งนอกจากจะส่งผลให้อาเจะห์ได้รับความเสียหายอย่างหนักแล้ว ยังทำให้สภาวะความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียและขบวนการอาเจะห์เสรี (GAM) เข้าสู่ภาวะชะงักงัน นอกจากนี้ งานวิจัยจำนวนมากยังมุ่งอธิบายโดยให้ความสำคัญกับกระบวนการสันติภาพเป็นหลัก วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งอธิบายว่าแท้ที่จริงความสำเร็จในอาเจะห์นั้นมาจากหลายปัจจัยและสามารถอธิบายได้ในหลายมิติ มิใช่เป็นเรื่องภายในของรัฐบาลอินโดนีเซียเพียงอย่างเดียว หากแต่มีประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการดำเนินนโยบายต่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญ โดยมุ่งพิจารณาว่าการดำเนินนโยบายต่างประเทศอินโดนีเซียส่งผลอย่างไรต่อกระบวนการสันติภาพอาเจะห์ จากการศึกษาพบว่าเหตุภัยพิบัติสึนามิไม่ใช่ปัจจัยหลักเพียงประการเดียวที่ทำให้กระบวนการสันติภาพบรรลุผล แต่ปัจจัยการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย และ การดำเนินนโยบายต่างประเทศของรัฐบาล Susilo Bambang Yudhoyono เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสันติภาพอาเจะห์ ขณะที่รัฐบาลอินโดนีเซียเริ่มมีบทบาทในเวทีระหว่างประเทศเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญภายหลังการเจรจาสันติภาพอาเจะห์-
dc.description.abstractalternativeThe success of Aceh peace process has thus far been attributed to Tsunami disaster in the Northern Sumatera Island in 2004. It also emphasizes on the stalemate between Indonesian government and the Free Aceh Movement (Gerakan Aceh Merdeka, GAM) in their attempt to settle the dispute. Moreover, most of the literatures focus solely on the peace process. The purpose of this study is to examine additional, but equally important factors that have crucial impact on the conflict management in Aceh, namely, the democratization process and the linkage between democracy and foreign policy under Susilo Bambang Yudhoyono (SBY). This research highlights that internal democracy as well as its impact on the conduct of Indonesian Foreign Policy under SBY have not only made a significant progress on peace process in Aceh, but also enhanced Indonesian role in international arena.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.283-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการดำเนินนโยบายต่างประเทศอินโดนีเซียในสมัยประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยุโดโยโน่กับการจัดการความขัดแย้งในอาเจะห์ (ค.ศ.2004-2014)-
dc.title.alternativeINDONESIAN FOREIGN POLICY UNDER SUSILO BAMBANG YUDHOYONO AND CONFLICT MANAGEMENT IN ACEH (2004-2014)-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorpranee.t@chula.ac.th,pranee.th@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.283-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5680604124.pdf3.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.