Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5548
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัญชัย นิลสุวรรณโฆษิต-
dc.contributor.authorชลัมภ์ อุ่นอารีย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-18T10:50:48Z-
dc.date.available2008-01-18T10:50:48Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741303971-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5548-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการประยุกต์เทคนิคโมดูลาร์ในแบบจำลองเพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับการประมาณค่าวิกฤตของแกนปฏิกรณ์นิวเคลียร์ อาศัยสมการการแพร่สำหรับนิวตรอนพลังงานเดียว แล้วประมาณด้วยวิธีผลต่างสืบเนื่อง ชุดสมการที่วิเคราะห์ได้จากการประมาณค่าเชิงตัวเลข ถูกนำมาสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับประมาณค่าวิกฤต โดยใช้ชื่อว่า "MTAC" กระบวนการทดสอบโปรแกรมมี 3 ส่วน ประกอบด้วย ความสามารถในการคำนวณซ้ำ ความสามารถในการทำนายผลล่วงหน้าเทียบกับค่าทางทฤษฎี และเปรียบเทียบผลการคำนวณที่ได้จากแบบจำลองต่างๆ ที่กำหนดขึ้น กับวิธีมอนติคาร์โลโดยใช้โปรแกรม MCNP 4A ผลการดำเนินงานพบว่า การคำนวณค่าวิกฤตจากโปรแกรม MTAC มีความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งสำหรับแบบจำลอง ที่มีการปรับเปลี่ยนส่วนประกอบบ่อยครั้ง (ทั้งการปรับเปลี่ยนทางเรขาคณิตและทางวัสดุ) ทั้งนี้โดยให้ผลโดยรวมในระดับหนึ่งสอดคล้องกับผลจากโปรแกรม MCNP 4A ข้อดีของโปรแกรม MTAC คือ สามารถเพิ่มหรือลดส่วนประกอบย่อย ตลอดจนการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบต่างๆ ในแบบจำลองที่พิจารณาได้ง่าย ข้อจำกัดของโปรแกรม MTAC ในการใช้งานส่วนหนึ่ง เป็นผลโดยตรงมาจากสมการการแพร่กับพฤติกรรมของนิวตรอนในระบบ และวัสดุตัวกลางที่นิวตรอนเคลื่อนที่ผ่าน ขนาดของแบบจำลองแกนปฏิกรณ์ที่เหมาะสม และข้อจำกัดที่เกิดจากวิธีการคำนวณ ข้อจำกัดต่างๆ เหล่านี้ทำให้การประมาณค่าวิกฤต มีความแม่นยำในระดับหนึ่งเท่านั้นen
dc.description.abstractalternativeThe modularizing technique was applied in a model for developing a computer code for approximating the criticality of a nuclear reactor with the one-speed neutron diffusion equation and the approximation with the finite difference method. A set of the numerically approximating relations was used to produce the computer code for approximating the criticality named "MTAC". To validate the code, three separate criterias were employed. They were the ability to repeat the result, the ability to predict that result as compared with the theoretical prediction and the comparison made with the prediction by the Monte-Carlo code called MCNP 4A. The study found that the criticality approximation with "MTAC" was suitable for the model where the composition (geometry or materials) was changed frequently. It also provided the over all result that agreed with MCNP 4A code. "MTAC" code has an advantage in that the configuration of the system due to the addition or the removal of various part of the system can be easily adjusted in the model. The limitation of MTAC is directly due to the diffusion theory, the behavior of the neutrons in the system and the property of the medium. The size of the system and the limitation of the employed algorithm also effect the calculation. All this limitation allows the approximation to be accurate only up to a level.en
dc.format.extent1088486 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์ปรมาณูen
dc.subjectนิวตรอนen
dc.subjectค่าวิกฤต (วิศวกรรมนิวเคลียร์)en
dc.titleเทคนิคโมดูลาไรซ์สำหรับการประมาณค่าวิกฤต ของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์en
dc.title.alternativeA modularizing technique for approximating criticality of a nuclear reactoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSunchai.n@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalump.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.