Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55851
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Wimonrat Trakarnpruk | - |
dc.contributor.author | Tanawat Tittabutr | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Science | - |
dc.date.accessioned | 2017-11-13T04:40:41Z | - |
dc.date.available | 2017-11-13T04:40:41Z | - |
dc.date.issued | 2006 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55851 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006 | en_US |
dc.description.abstract | In this work, solid base catalysts were synthesized. They were MgAI and MgGa hydrotalcites, calcined hydrotalcites, metal loaded calcined hydrotalcites and rehydrated hydrotalcites. Different group I metals were loaded in different weight percentage. The synthesized catalysts were characterized by XRD, IR, BET, SEM and basicity was measured. To compare their catalytic activities, tributyrin was used as a model compound for transesterification with methanol at a fixed reaction condition: catalyst 1.5wt%, termperature 60 degree celsius, time 3 h, molar ratio of methanol to tributyrin 30:1. GC was used to analyse the product, methyl butanoate. The results showed that the rehydrated hydrotalcites gave higher %conversion of tributyrin than the calcined ones. When the metal was loaded on the calcined hydrotalcites, %conversion of tributyrin was increased. The calcined MgAI hydrotalcite which was loaded with 1.5%K was chosen to catalyze the transesterification of refined palm oil with methanol. The reaction condition was optimized and was found at a temperature of 100 degree celsius, the molar ratio of methanol to oil of 45:1, reaction time 9 h, catalyst 7.5wt%, High product yield (85.6%) and ester content (93.7%) were obtained. These catalysts can be regenerated (by calcinations and reloading metal) with slight decrease in activity. | en_US |
dc.description.abstractalternative | ในงานวิจัยนี้ ได้สังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่มีสมบัติเป็นเบส ได้แด่ MgAI และ MgGa ไฮโดรแทลไซต์ ไฮโดรแทลไซต์ที่ทำการเผา ไฮโดรแทลไซต์ที่ทำการเผาและเติมโลหะ รวมทั้ง ไฮโดรแทลไซต์รีไฮเดรต เติมโลหะหมู่ I ชนิดต่างๆ ในปริมาณเปอร์เซนต์ต่างๆ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สังเคราะห์ได้ถูกตรวจสอบลักษณะด้วยเทคนิค XRD, IR, BET, SEM และวัดความเป็นเบส ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาเหล่านี้ได้ใช้สารต้นแบบคือไทรบิวทิริน ทำปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชันกับเมทานอลที่ภาวะการทดลองที่กำหนดคือ น้ำหนักของตัวเร่งปฏิกิริยา 1.5% โดยน้ำหนักอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 3 ชั่วโมง อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อไทรบิวทิริน 30:1 ได้ผลิภัณฑ์เป็นเมทิลบิวทาโนเอตซึ่งตรวจสอบด้วย GC ผลการทดลองแสดงว่าตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรแทลไซต์รีไฮเดรต ให้ %conversion มากกว่าตัวเร่งปฏิกิริยา ไฮโดรแทลไซต์ที่ทำการเผา และเมื่อเติมโลหะลงบนไฮโดรแทลไซต์ที่ทำการเผา ได้ %conversion การเปลี่ยนไปของไทรบิวทิรินที่สูงขึ้น ได้เลือกตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรแทลไซต์ MgAI ที่ทำการเผา ที่เติมโลหะ 1.5% K มาทำปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิคิชันของน้ำมันปาล์มรีไฟน์กับเมทานอล ได้หาภาวะการทำปฏิกิริยาที่เหมาะสมคือที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อน้ำมัน 45:1 ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 7.5% โดยน้ำหนัก เวลา 9 ชั่วโมง ได้ผลได้ผลิตภัณฑ์ที่สูง (85.6%) และความบริสุทธิ์ของเอสเทอร์ที่สูง (93.7%) นอกจากนี้ยังสามารถนำตัวเร่งปฏิกิริยานี้กลับมาใช้ใหม่ได้(ด้วยการเผาและเติมโลหะอักครั้ง) โดยประสิทธิภาพลดลงเล็กน้อย | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1732 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Biodiesel fuels industry | en_US |
dc.subject | Biodiesel fuels | en_US |
dc.subject | Catalysts | en_US |
dc.subject | Transesterification | en_US |
dc.subject | Hydrotalcite | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงไบโอดีเซล | en_US |
dc.subject | เชื้อเพลิงไบโอดีเซล | en_US |
dc.subject | ตัวเร่งปฏิกิริยา | en_US |
dc.subject | ทรานเอสเทอริฟิเคชัน | en_US |
dc.subject | ไฮโดรแทลไซต์ | en_US |
dc.title | Hydrotalcite base catalysts for biodiesel production | en_US |
dc.title.alternative | ตัวเร่งปฏิกิริยาเบสชนิดไฮโดรแทลไซต์สำหรับการผลิตไบโอดีเซล | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Petrochemistry and Polymer Science | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | twimonra@hotmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.1732 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
tanawat_ti_front.pdf | 1.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
tanawat_ti_ch1.pdf | 396.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
tanawat_ti_ch2.pdf | 1.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
tanawat_ti_ch3.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
tanawat_ti_ch4.pdf | 3.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
tanawat_ti_ch5.pdf | 355.7 kB | Adobe PDF | View/Open | |
tanawat_ti_back.pdf | 2.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.