Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSakuntam Sanorpim-
dc.contributor.advisorKajornyod Yoodee-
dc.contributor.authorPawinee Klangtakai-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2017-11-14T01:19:27Z-
dc.date.available2017-11-14T01:19:27Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55873-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006en_US
dc.description.abstractThe optical and structural properties of high N-content GaAs₀.₉₄₉N₀.₀₅₁ layer and GaAs₀.₉₅₀N₀.₀₅₀GaAs multiple quantum wells (MQWs) grown on GaAs (001) substrates by metaorganic vapor phase epitaxy (MOVPE) were characterized by photoluminescence (PL) to measure the energy positions of the near band edge excitionic emission, high-resolution X-ray diffraction (HRXRD) and Raman scattering to examine the lattice parameters and the N concentrations of the layers annealed at 650° with different annealing time. The post-growth thermal annealing affects an increasing of N concentration, a strain relaxation and a blue-shift of the PL peak energy. After annealing can be explained by two major effects: (i) the reorganization of N and (ii) the strain relaxation in the GaAsN layer. On the other hand, the GaAs₀.₉₅₀N₀.₀₅₀/GaAs MQWs exhibits exhibits strong PL emission around the 1.3 mum-wavelegth region without post-growth thermal annealing treatment, which suggests an efficient electron confinement in the QWs. After post-growth thermal annealing, blue-shift of PL peak energy was clearly observed. However, this PL blue-shift which is induced by thermal annealing, can be described by diffusion of N atoms out of the well and homogeneity of the N concentration fluctuation. Based on PL results, it is evident that the band alignment of GaAsN/GaAs heterostructure is a type-I band lineup. Adding N to GaAs mainly affects the conduction band (CB) states leading to a large conduction band offset ([triangle]Ec ~ 550 meV). Our results show the potential for the fabrication of 1.3 um-wavelength GaAsN QW lasers on GaAs substrates.en_US
dc.description.abstractalternativeสมบัติเชิงแสงและสมบัติเชิงโครงสร้างของชั้น GaAs₀.₉₄₉N₀.₀₅₁ และ GaAs₀.₉₅₀N₀.₀₅₀]/GaAs MQWs ที่มีความเข้มข้นไนโตรเจนสูงถูกปลูกผลึกลงบนซับสเตรต GaAs (001) ด้วยวีเมทอลออแกนิกเวเปอร์เฟสเอพิแทกซีได้ถูกตรวจสอบโดยเทคนิคโฟโตลูมิเนสเซนซ์ (PL) เพื่อหาตำแหน่งพลังงานการเปล่งแสง และถูกตรวจสอบโดยเทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์กำลังแยกสูงและการกระเจิงแบบรามานเพื่อหาค่าคงที่โครงผลึกและค่าความเข้มข้นของไนโตรเจนภายในชั้นฟิล์มที่ผ่านการอบด้วยความร้อนที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส ด้วยเวลาที่แตกต่างกัน ผลการอบด้วยความร้อนพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของปริมาณไนโตรเจน มีการผ่อนคลายความเครียดและการเลื่อนไปยังพลังงานที่สูงขึ้นของตำแหน่งยอด PL การเลื่อนไปยังพลังงานที่สูงขึ้นของตำแหน่งยอด PL หลังการอบด้วยความร้อนสามารถอธิบายได้ว่าเกิดจากสองสาเหตุหลัก คือ การจัดเรียงอะตอมไนโตรเจนมีความสม่ำเสมอมากขึ้น และมีการผ่อนคลายความของชั้นฟิล์ม GaAs₀.₉4₉N₀.₀₅₁ ในทางตรงข้าม GaAs₀.₉₅₀N₀.₀₅₀/GaAs MQWs แสดงการแปล่งแสง PL ที่ความยาวคลื่นปราณ 1.3 ไมโครเมตร โดยที่ยังไม่ผ่านการอบด้วยความร้อน แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการกักอิเล็กตรอนให้อยู่ภายในควอนตัมเวลล์ได้ดี ภายหลังผ่านการอบด้วยความร้อนแล้วยังสังเกตเห็นการเลื่อนของตำแหน่งยอด PL ไปยังพลังงานที่สูงขึ้นอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามการเลื่อนไปยังพลังงานที่สูงขึ้นของตำแหน่งยอด PL หลังการอบด้วยความร้อน สามารถอธิบายได้ว่าเกิดจากการแพร่ของอะตอมไนโตรเจนออกจากชั้นควอนตัมเวลล์ และเกิดจากการที่อะตอมไนโตรเจนีการกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอมากขึ้น ผลการทดลองที่ได้จาก PL แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการวางตัวของแนวระดับพลังงานในโครงสร้าง GaAsN/GaAs เป็นแบบที่ 1 โดยไนโตรเจนที่ถูกเจือจะส่งผลต่อแถบการนำเท่านั้นซึ่งเป็นผลทำให้เกิดความต่างของแถบการนำมีค่าสูงถึง 550 มิลลิอิเล็กตรอนโวลต์ ดังนั้นผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการนำ GaAsN ควอนตัมเวลล์ที่ปลูกผลึกลงบนซับสเตรต GaAs ไปทำเป็นเลเซอร์ความยาวคลื่น 1.3 ไมโครเมตรen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1739-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectThin filmsen_US
dc.subjectThin films -- Optical propertiesen_US
dc.subjectThin films -- Nitrogen contenten_US
dc.subjectMetal organic chemical vapor depositionen_US
dc.subjectQuantum wellsen_US
dc.subjectฟิล์มบางen_US
dc.subjectฟิล์มบาง -- สมบัติเชิงแสงen_US
dc.subjectฟิล์มบาง -- ปริมาณไนโตรเจนen_US
dc.subjectควอนตัมเวลล์en_US
dc.titleOptical and structural characterization of GaAsN thin film and GaAsN/GaAs multiquantum well with high nitrogen concentration grown by MOVPEen_US
dc.title.alternativeการหาลักษณะเฉพาะเชิงแสงและเชิงโครงสร้างของฟิล์มบาง GaAsN และ GaAsN/GaAs มัลติควอนตัมเวลล์ความเข้มข้นไนโตรเจนสูงที่ปลูกผลึกด้วยวิธีเอ็มโอวีพีอีen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePhysicsen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSakuntam.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorkajorn@sprl.phys.sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1739-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pawinee_kl_front.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
pawinee_kl_ch1.pdf484.11 kBAdobe PDFView/Open
pawinee_kl_ch2.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
pawinee_kl_ch3.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
pawinee_kl_ch4.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open
pawinee_kl_ch5.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open
pawinee_kl_ch6.pdf361.66 kBAdobe PDFView/Open
pawinee_kl_back.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.