Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThawatchai Jittrapanun-
dc.contributor.authorRitchey, Kelley-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Economics-
dc.date.accessioned2017-11-15T08:13:11Z-
dc.date.available2017-11-15T08:13:11Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55917-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006en_US
dc.description.abstractActive portfolio management techniques and tactical asset allocation in particular may be growing in importance for traditional assets, but relatively little research has been conducted on hedge funds. We seek to build on the work of. Amenc (2002) which tried to predict nine CSFB/Tremont hedge fund indices utilizing financial variables and lagged index returns. Instead of predicting individual indices, we use Principal Components Analysis on twenty-five indices of two providers for the 1996-2005 period and find three common factors explain 64% of the variation between index returns. The three factors relate to equity market performance, and the relationship between corporate credit spreads and equity market performance and expected volatility. Further departing from Amenc (2002), we lengthen the forecast window to three and six months because a well-known "return smoothing" effect impacts the less liquid hedge fund strategies in particular, but may not be exploitable due to liquidity constraints. We develop regression equations to predict the tree factors, which incorporate financial variables on the equity market, credit spreads, and expected volatility. Although the first factor is only marginally predictable using market valuation ratios, the second and three factors appear to be more predictable. An asset allocation optimization over seven years (1999-2005) incorporating the predicted equations show modest improvement of five to eight basis points a month in realized return over an allocation using only historical factor exposures and returns.en_US
dc.description.abstractalternativeการจัดการเกี่ยวกับเอกสารที่ทันสมัย และ เทคนิคการจัดการการลงทุนที่เหมาะสมมีความสำคัญต่อผลตอบแทนในทรัพย์สิน ในอดีตที่ผ่านมา มีงานวิจัยน้อยมากที่เกี่ยวข้องกับกองทุนในระดับแนวหน้า ดังนั้นผู้เขียนจึงได้ศึกษาในเรื่องนี้ จากการตรวจสอบหลักฐานของการวิจัยในอดีต คือ Amene (2002) เขาได้พยายามสร้างแบบจำลองเผื่อ เขาได้พยายามทำนาย ความสัมพันธ์ของดัชนีการใช้ประโยชน์จากกองทุนและดัชนีความล่าช้าของผลตอบแทนจากการลงทุน นอกเหนือจากการคาดการณ์ ดัชนีตัวใดตัวหนึ่ง, แต่ในที่นี้ผู้เขียนใช้เทคนิคที่เรียกว่า การวิเคราะห์ตัวประกอบหลัก (Principle Components Analysis) โดยใช้ดัชนีหลัก 25 ตัว ในตัวแปรในการพิจารณา โดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาจากปี 1996 ถึง 2005 PORTFOLIO พบว่ามีตัวประกอบหลัก 3 ตัว ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ โดยตัวประกอบหลักทั้ง 3 ตัวแปร สามารถอธิบายความสัมพันธ์ได้ถึง 64% ต่อ ดัชนีผลตอบแทน 3 ตัวแปรที่มีผลต่อดัชนีผลตอบแทน คือ 1) ความเท่าเทียมกันพฤติกรรมในตลาดหลักทรัพย์ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจของบริษัทในภาพลักษณ์ของบริษัทต่อสายของลูกค้า 3) ความคล่องตัวที่คาดหวัง นอกจากงานวิจัยของ Amene (2002) ในงานวิจัยนี้ได้ขยายงานวิจัยโดยพิจารณาค่าพยากรณ์จากแบบจำลองทุก 6 เดือน และ 3 เดือน ซึ่งรู้จักกันในนาม รีเทิร์น สมูทิง (RETURN SMOOTHING) ที่มีผลกระทบต่อสภาพของบริษัท แต่โดยส่วนใหญ่แล้ว นักวิจัยไม่ได้พิจารณาถึงสภาพคล่องเนื่องจากการขาดแคลนข้อมูล ในงานวิจัยนี้ ได้พิจารณาถึง สมการถดถอย เพื่อใช้ในการพยากรณ์ทั้ง 3 ปัจจัย โดยพิจารณาดูว่า ปัจจัยทางการเงินใดที่มีผลต่อภาพลักษณ์ของบริษัท, ความน่าเชื่อถือ และความคล่องตัว ตัวแปรแรกมีผลกระทบต่อการพยากรณ์เพียงเล็กน้อย ในขณะที่ตัวแปรที่ 2 และที่ 3 ได้แสดงถึงความสามารถในการพยากรณ์ได้ดีกว่าตัวแปรตัวแรก การจัดสรรความเหมาะสม ในทรัพย์สินของบริษัท ในรอบ 7 ปีที่ผ่านมา จากปี 1999-2005 เมื่อรวมตัวแปรเข้าไปในแบบจำลองของการพยากรณ์ พบว่า แบบจำลองมีความเหมาะสมเพิ่มขึ้น พบว่าห้าถึงสิบ เบสิก ที่มีผลต่อผลตอบแทนของราคาหุ้นในบริษัท.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1759-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectInvestmentsen_US
dc.subjectAsset allocationen_US
dc.subjectHedge fundsen_US
dc.subjectRate of returnen_US
dc.subjectการลงทุนen_US
dc.subjectการจัดสรรเงินลงทุนen_US
dc.subjectกองทุนบริหารความเสี่ยงen_US
dc.subjectอัตราผลตอบแทนen_US
dc.titleThe potential for tactical asset allocation in Hedge funds : evidence from index returnsen_US
dc.title.alternativeศักยภาพในการจัดสรรการลงทุนในกองทุน Hedge funds : หลักฐานจากผลตอบแทนจากดัชนีกองทุนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Artsen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineInternational Economics and Financeen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1759-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kelley_ri_front.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
kelley_ri_ch1.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open
kelley_ri_ch2.pdf619.06 kBAdobe PDFView/Open
kelley_ri_ch3.pdf661.75 kBAdobe PDFView/Open
kelley_ri_ch4.pdf2.44 MBAdobe PDFView/Open
kelley_ri_ch5.pdf539.49 kBAdobe PDFView/Open
kelley_ri_back.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.