Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิศณุ ทรัพย์สมพล-
dc.contributor.authorสิรินธร์ สืบจากรอด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2017-11-16T10:41:43Z-
dc.date.available2017-11-16T10:41:43Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55946-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาและพัฒนาแบบจำลองการเสื่อมสภาพของผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตของสายทางหลวงที่มีปริมาณการจราจรเฉลี่ยต่อวันตลอดปีมากกว่า 300 คันต่อวัน ด้วยกระบวนการลูกโซ่มาร์คอฟ เพื่อใช้ในการวางแผนและบริหารงานซ่อมบำรงทาง โดยใช้ข้อมูลค่าดัชนีความขรุขระสากลที่เป็นตัวแทนสภาพความเสียหายของผิวทางจากสายทางในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง การพัฒนาแบบจำลองแยกตามพฤติกรรมการเสื่อมสภาพของผิวทางโดยใช้ปัจจัยที่มีลกระทบต่อการเสื่อมสภาพผิวทางที่สำคัญ 5 ปัจจัย คือ ความแข็งแรงโครงสร้างทาง ปริมาณการจราจร ความเสียหายผิวทาง สภาพแวดล้อมและการก่อสร้าง ซึ่งในงานวิจัยนี้สามารถพัฒนาแบบจำลองแนกตามพฤติกรรมของทางซึ่งได้รับผลกระทบจากปัจจัยทั้ง 5 ได้ทั้งหมด 19 แบบจำลอง โดยแบบจำลองการเสื่อมสภาพของผิวทางที่พัฒนาขึ้นมาสรุปได้ว่า ในสายทางที่มีความแข็งแรงโครงสร้างสูงกว่าจะมีอัตราการเสื่อมสภาพผิวทางตำกว่าสายทางที่มีความแข็งแรงโครงสร้างต่ำ ในขณะเดียวกันในสายทางที่มีความแข็งแรงโครงสร้างเหมือนกัน สายทางที่มีปริมาณการจราจรสูงกว่าจะมีการเสื่อมสภาพผิวทางเร็วกว่าสายทางที่มีปริมาณการจราจรต่ำ ในส่วนของปัจจัยทางด้านความเสียหายของทาง สายทางที่มีความเสียหายผิวทาง จะมีความเร็วในการเสื่อมสภาพผิวทางสูงกว่าสายทางที่ไม่มีความเสียหายผิวทางเกิดขึ้น เนื่องจากความเสียหายที่เกิดขึ้นส่งผลให้ความแข็งแรงของโครงสร้างทางลดลง แบบจำลองทำนายสภาพผิวทางที่พัฒนาจากการวิจัยนี้ สามารถนำมาประยุกต์ในระบบบริหารงานซ่อมบำรุงรักษาทาง เพื่อช่วยในการวางแผนงานการซ่อมบำรุงรักษาทางและวางแนงบประมาณในระดับโครงข่ายได้ดียิ่งขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to develop deterioration models for asphalt concrete pavements which have average annual daily traffic more than 300 cars per day, using markov chains method. The International Roughness Index (IRI) is used to represent pavement condition. Based on data from national highways in Northern and Southeastern regions, nineteen deterioration models are developed. these models are grouped by five most influencing factors on pavement damage which resulted from the preliminary analysis. Such factors are pavement strength, surface distresses, traffic volume, construction, and environment. several conclusions can be drawn from developed models as fellows. The higher strength road would result in lower deterioration. For roads which have similar strength, traffic volume would affect deterioration rate. Furthermore, the deterioration rate of roads which have surface distresses are higher than the roads without the surface distresses. This is because surface distress would lower the strength of structural road that accelerate the deterioration of pavement. The deterioraton model can be applied for the pavement maintenance management system in order to planning for maintenance method of the roads network and planning for budget allocation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.599-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต -- ไทยen_US
dc.subjectผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต -- แบบจำลองen_US
dc.subjectแอสฟัลต์คอนกรีตen_US
dc.subjectทางหลวง -- ไทยen_US
dc.subjectPavement, Asphalt concrete -- Thailanden_US
dc.subjectPavement, Asphalt concrete -- Modelsen_US
dc.subjectAsphalt concreteen_US
dc.subjectRoads -- Thailanden_US
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองการเสื่อมสภาพผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตของทางหลวงในประเทศไทยด้วยกระบวนการลูกโซ่มาร์คอฟen_US
dc.title.alternativeDevelopment of asphalt concrete pavement deterioration models for Thailand national highways using markov chainsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwisanu.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.599-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirint_su_front.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open
sirint_su_ch1.pdf955.43 kBAdobe PDFView/Open
sirint_su_ch2.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
sirint_su_ch3.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
sirint_su_ch4.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open
sirint_su_ch5.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open
sirint_su_ch6.pdf616.77 kBAdobe PDFView/Open
sirint_su_back.pdf9.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.