Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorสงคราม อาฮูวารี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-28T07:15:07Z-
dc.date.available2008-01-28T07:15:07Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741742029-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5616-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของการส่งออก ผลิตผลยางพาราธรรมชาติจากพื้นที่บริเวณภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย ไปยังประเทศจีนและญี่ปุ่น โดยการขนส่งทางชายฝั่งจากท่าเรือสงขลาไปส่งออกที่ท่าเรือแหลมฉบัง การศึกษาจะพิจารณาเฉพาะการส่งออกสินค้ายางพาราประเภทยางแผ่นรมควัน ชั้น 3 และยางแท่ง STR 20 ที่ได้รับการขนส่งในระบบบรรจุตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต และวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเส้นทางการขนส่งของผู้ใช้บริการ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของกิจกรรมการขนส่ง ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ในปัจจุบันเส้นทางส่งออกด้วยเรือชายฝั่งนี้ ยังไม่มีศักยภาพและความเหมาะสมเพียงพอ ที่จะนำมาใช้แข่งขันหรือดึงตลาดความต้องการการขนส่ง มาจาก เส้นทางการขนส่งเดิมที่นิยมเลือกใช้กันอยู่ในปัจจุบันได้ ทั้งนี้เนื่องมาจากปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบหลายด้าน อย่างไรก็ตามพบว่าในอนาคตยังพอจะมีแนวทางที่สามารถปรับปรุง และพัฒนาการขนส่งชายฝั่งนี้ให้มีประสิทธิภาพ และศักยภาพที่สูงเพียงพอต่อการแข่งขันได้ แต่ต้องได้รับการแก้ไขและการเอาใจใส่จากทุกฝ่าย ผลการศึกษาสามารถนำไปใช้เป็นส่วนหนึ่ง ในการประกอบการพิจารณาแนวทางการส่งเสริม และพัฒนาระบบการขนส่งสินค้าชายฝั่งให้มีศักยภาพและความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น เพื่อให้สามารถรองรับทั้งการขนส่งสินค้าภายในประเทศและระหว่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลดีต่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอย่างมากen
dc.description.abstractalternativeTo study the feasibility of exporting natural rubber from the southern part of Thailand to Japan and China via coastal shipping from Songkhla Seaport through Laem Chabang Seaport. The research focuses specifically on the exports of the 3rd grade Ribbed Smoked Sheet (RSS3) and 20-Standard Thai Rubber (STR20) using twenty-foot containers. It examines the factors influencing the shippers' decisions on route choices and the obstacles encountered in each individual step of exporting procedures. The result reveals that, due to various inherent problems the concerned shipping route has not possessed sufficient competitive advantages to attract exported cargo from the other routes being presently utilized. However, there are still possibilities for improvements but the recent problems must be immediately and carefully resolved with the great attention from all relevant organizations. The study findings would also provide useful information for further efforts attempting to promote the coastal shipping to efficiently accommodate domestic and international transportation in Thailand, which would greatly benefit the nation economic development.en
dc.format.extent9606255 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectยางพารา -- การขนส่งen
dc.subjectยางพารา -- การส่งออกen
dc.subjectการขนส่งทางน้ำen
dc.subjectเรือชายฝั่งen
dc.titleความเหมาะสมของการส่งออกยางพาราด้วยเรือชายฝั่งen
dc.title.alternativeFeasibility of exporting natural rubber via coastal shippingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorssompon1@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Songhkram.pdf9.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.