Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56277
Title: | LOCALIZATION AND ANTIGEN-SPECIFICITY OF PLASMA CELLS IN PERIODONTITIS LESIONS |
Other Titles: | ตำแหน่งที่อยู่และความจำเพาะต่อแอนติเจนของพลาสมาเซลล์ในรอยโรคปริทันต์อักเสบ |
Authors: | Saranya Thawanaphong |
Advisors: | Rangsini Mahanonda Sathit Pichyangkul |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
Advisor's Email: | Rangsini.M@Chula.ac.th,r_mahanonda@yahoo.com sathitp@afrims.org |
Issue Date: | 2014 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Periodontitis is characterized by large infiltration of B cells and plasma cells. In this study, CD19+CD27+CD38+HLA-DRlow as periodontitis tissue–plasma cells were identified by flow cytometry. And these cells were also CD138+ (a plasma cell marker). In severe periodontitis lesions, large number of CD138+ plasma cells which form small clusters disseminated in connective tissue were consistently demonstrated by immunostaining. The densest area of co-localization of CD138+ plasma cells and CD3+ T cells were at the base of pocket epithelium. But none or very few CD138+ plasma cells was/were observed in clinically healthy gingiva. From ELISPOT assay, we detected Ig-producing plasma cells specific to a key periodontal pathogen, Porphyromonas gingivalis and to a lesser extent against Aggregatibacter actinomycetemcomitans. Total IgG spot forming cells (SFC) were significant higher than total IgA SFC. On the other hand, Ig specific for commensal plaque bacteria-Streptococcus gordonii or self-tissue collagen could not be detected. More studies are required to gain insight into the role of periodontal tissue-plasma cells in protection or pathogenesis of the disease. |
Other Abstract: | ในรอยโรคปริทันต์อักเสบจะพบบีเซลล์และพลาสมาเซลล์จำนวนมาก การศึกษานี้ใช้วิธีโฟลไซโทเมทรีในการตรวจระบุพลาสมาเซลล์ โดยเซลล์ที่ย้อมติดซีดี19+ซีดี27+ซีดี38+เอชแอลเอ-ดีอาร์ต่ำ ถูกระบุเป็นพลาสมาเซลล์ในรอยโรคปริทันต์อักเสบ ซึ่งเซลล์เหล่านี้สามารถตรวจระบุด้วยซีดี138+ เช่นกัน การตรวจทางอิมมูโนพยาธิวิทยาโดยการย้อมด้วยซีดี138 ในรอยโรคปริทันต์อักเสบขั้นรุนแรงพบว่ามีพลาสมาเซลล์จำนวนมากกระจายเป็นกลุ่มเล็กๆ ในชั้นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน บริเวณที่พบพลาสมาเซลล์ที่ย้อมติดซีดี138 อยู่ร่วมกับทีเซลล์ที่ย้อมติดซีดี3 อย่างหนาแน่นมากที่สุดได้แก่บริเวณที่เป็นส่วนฐานของร่องลึกปริทันต์ อย่างไรก็ตามไม่พบเซลล์ที่ย้อมติดซีดี138 หรือพบน้อยมากในเนื้อเยื่อที่ไม่เป็นโรค เมื่อทำการตรวจหาความจำเพาะต่อแอนติเจนของพลาสมาเซลล์ด้วยวิธีการอีไลสปอต พบว่าพลาสมาเซลล์ที่ผลิตอิมมูโนโกลบูลินมีความจำเพาะต่อแบคทีเรียก่อโรคปริทันต์อักเสบพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิส และมีส่วนน้อยที่จำเพาะต่อเชื้อแอคกรีเกทิแบคเทอร์ แอคทิโนมัยซิเทมโคมิแทนส์ และพบว่ามีเซลล์ที่ผลิตอิมมูโนโกลบูลินจีมากกว่าเซลล์ที่ผลิตอิมมูโนโกลบูลินเออย่างมีนัยสำคัญ แต่อย่างไรก็ตามไม่พบความจำเพาะของพลาสมาเซลล์ต่อแบคทีเรียประจำถิ่นสเตรปโตคอกคัส กอร์โดไนหรือคอลลาเจนตนเอง ทั้งนี้ต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป เพื่อให้เข้าใจบทบาทของพลาสมาเซลล์ในโรคปริทันต์อักเสบว่ามีบทบาทในการป้องกันหรือการก่อให้เกิดโรค |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Periodontics |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56277 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5575825732.pdf | 1.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.