Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56404
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chootima Ratisoontorn | |
dc.contributor.author | Rangsit Makarukpinyo | |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry | |
dc.date.accessioned | 2017-11-27T10:18:25Z | - |
dc.date.available | 2017-11-27T10:18:25Z | - |
dc.date.issued | 2015 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56404 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2015 | |
dc.description.abstract | Introduction: This study compared the porosity and marginal adaptation to dentine of Biodentine and MTA in the presence and absence of blood in simulated furcation perforation cavities using micro-CT. Methods: Furcation perforation cavities were prepared on 64 extracted human mandibular first molars. Samples were randomly divided into 4 groups: Biodentine with blood contamination group (Biodentine/Blood), Biodentine with normal saline group (Biodentine/NSS), MTA with blood contamination group (MTA/Blood) and MTA with normal saline group (MTA/NSS). All samples were scanned using micro-CT at initial setting time and 24 hours. Mean percent gap volume was calculated from difference between cavity volume and material volume. Mean percent porosity obtained directly from the data report. Results: Blood contamination increased mean percent gap volume in both type of materials significantly (P < .05). Mean percent gap volume of Biodentine/Blood was not significantly different from MTA/Blood. Biodentine/NSS had significantly lower mean percent gap volume compared with MTA/NSS (P < .05). There was no significant difference in mean percent gap volume between initial setting time and 24 hours except for MTA/Blood, which showed significantly higher mean percent gap volume at 24 hours (P < .05). Biodentine/Blood had significantly higher mean percent porosity than Biodentine/NSS, MTA/Blood and MTA/NSS (P < .05). There was no significant difference in mean percent porosity between Biodentine/NSS, MTA/Blood and MTA/NSS. There was no significant difference in mean percent porosity between initial setting time and 24 hours except for Biodentine/Blood, which showed significantly higher mean percent porosity at 24 hours (P < .05). Conclusion: In blood contamination condition, there was no difference in marginal adaptation between Biodentine and MTA. Blood contamination significantly increased gap volume of both materials. In contrast, Biodentine had significantly higher porosity than MTA in blood contaminated condition. Appropriate hemostasis should be carried out when using Biodentine as a furcation repair material. | |
dc.description.abstractalternative | บทนำ: การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพรุนและความแนบตามขอบกับเนื้อฟันของไบโอเด็นทีนและเอ็มทีเอในสภาวะที่มีและไม่มีการปนเปื้อนเลือดในการซ่อมรอยทะลุง่ามรากฟันโดยใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตดโทโมกราฟฟี (Microcomputed Tomography (micro-CT)) วิธีวิจัย: รอยทะลุง่ามรากฟันถูกเตรียมบนฟันกรามล่างซี่ที่ 1 ของมนุษย์ที่ถูกถอนออกมาจำนวน 64 ซี่ แบ่งตัวอย่างออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มไบโอเด็นทีนที่ปนเปื้อนเลือด (Biodentine/Blood) กลุ่มไบโอเด็นทีนที่ปนเปื้อนน้ำเกลือ (Biodentine/NSS) กลุ่มเอ็มทีเอที่ปนเปื้อนเลือด (MTA/Blood) และกลุ่มเอ็มทีเอที่ปนเปื้อนน้ำเกลือ (MTA/NSS) ทำการกราดตรวจตัวอย่างทุกชิ้นโดยเครื่อง Micro-CT ที่เวลาแข็งตัวเริ่มแรกของวัสดุแต่ละชนิดและที่เวลา 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ยร้อยละของปริมาตรของช่องว่างระหว่างวัสดุและเนื้อฟันได้จากการคำนวณความแตกต่างของปริมาตรรอยทะลุง่ามรากฟันกับปริมาตรของวัสดุ ค่าเฉลี่ยร้อยละของความพรุนได้โดยตรงจากรายงานของเครื่อง Micro-CT ผลการวิจัย: การปนเปื้อนเลือดเพิ่มค่าเฉลี่ยร้อยละของปริมาตรของช่องว่างระหว่างวัสดุและเนื้อฟันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติในวัสดุทั้งสองชนิด (P < .05) ค่าเฉลี่ยร้อยละของปริมาตรของช่องว่างระหว่างวัสดุและเนื้อฟันของกลุ่ม Biodentine/Blood ไม่มีความแตกต่างกับกลุ่ม MTA/Blood อย่างมีนัยสำคัญ ค่าเฉลี่ยร้อยละของปริมาตรของช่องว่างระหว่างวัสดุและเนื้อฟันของกลุ่ม Biodentine/NSS ต่ำกว่ากลุ่ม MTA/NSS อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P < .05) ค่าเฉลี่ยร้อยละของปริมาตรของช่องว่างระหว่างวัสดุและเนื้อฟันที่เวลาแข็งตัวเริ่มแรกและที่เวลา 24 ชั่วโมงในแต่ละกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นในกลุ่ม MTA/Blood ซึ่งพบว่าที่เวลา 24 ชั่วโมงมีค่าสูงกว่าที่เวลาแข็งตัวเริ่มแรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .05) ค่าเฉลี่ยร้อยละของความพรุนของกลุ่ม Biodentine/Blood มีค่าสูงกว่ากลุ่ม Biodentine/NSS กลุ่ม MTA/Blood และกลุ่ม MTA/NSS อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .05) โดยค่าเฉลี่ยร้อยละของความพรุนของกลุ่ม Biodentine/NSS กลุ่ม MTA/Blood และกลุ่ม MTA/NSS ไม่มีความแตกต่างกัน ค่าเฉลี่ยร้อยละของความพรุนที่เวลาแข็งตัวตัวเริ่มแรกของวัสดุและที่เวลา 24 ชั่วโมงในแต่ละกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นในกลุ่ม Biodentine/Blood ซึ่งพบว่าที่เวลา 24 ชั่วโมงมีค่าสูงกว่าที่เวลาแข็งตัวเริ่มแรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .05) สรุปผลวิจัย: ภายใต้สภาวะปนเปื้อนเลือดไม่พบว่ามีความแตกต่างของความแนบตามขอบกับเนื้อฟันระหว่างไบโอเด็นทีนและเอ็มทีเอ ในทางตรงข้ามสภาวะปนเปื้อนเลือดมีผลเพิ่มปริมาตรของช่องว่างระหว่างวัสดุและเนื้อฟันของวัสดุทั้งสองชนิด ไบโอเด็นทีนมีความพรุนมากกว่าเอ็มทีเอในสภาวะปนเปื้อนเลือดอย่างมีนัยสำคัญ ควรทำการห้ามเลือดอย่างเหมาะสมเมื่อใช้ไบโอเด็นทีนเป็นวัสดุซ่อมแซมรอยทะลุง่ามรากฟัน | |
dc.language.iso | en | |
dc.publisher | Chulalongkorn University | |
dc.rights | Chulalongkorn University | |
dc.title | COMPARISON OF MARGINAL ADAPTATION TO DENTINE AND POROSITY OF BIODENTINE AND MTA IN BLOOD CONTAMINATED FURCATION REPAIR | |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบความแนบตามขอบกับเนื้อฟันและความพรุนของไบโอเด็นทีนและเอ็มทีเอในการซ่อมรอยทะลุง่ามรากฟันภายใต้สภาวะปนเปื้อนเลือด | |
dc.type | Thesis | |
dc.degree.name | Master of Science | |
dc.degree.level | Master's Degree | |
dc.degree.discipline | Endodontology | |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | |
dc.email.advisor | Chutima.Ra@chula.ac.th,chootima@gmail.com | |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5575817732.pdf | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.