Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuyanee Pongthananikorn
dc.contributor.advisorAnuchai Theeraroungchaisri
dc.contributor.authorJitprasong Lamsaard
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.date.accessioned2017-11-27T10:18:26Z-
dc.date.available2017-11-27T10:18:26Z-
dc.date.issued2015
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56406-
dc.descriptionThesis (M.Sc. in Pharm.)--Chulalongkorn University, 2015
dc.description.abstractThe aim of the study was to develop nutrition education website for chronic kidney disease (CKD) patients and to determine the effectiveness of this nutrition education tool. The first phase, a CKD knowledge and nutrition website was developed based on ADDIE model (analysis, design, development, implementation, and evaluation) and usability guidelines. To evaluate the website, 10 users were purposively selected to accomplish the specific tasks. The evaluation of website usability was conducted by questionnaire. The average scores of usefulness, ease of use, ease of learning, and satisfaction were somewhat agree - agree. After the website was improved, it was launched to the next phase. In the quasi-experimental phase, the developed website was implemented with CKD patients. The participants were CKD patients in the pre-dialysis stage (n = 44) who were enrolled on the educational website www.banraktai.com. Before the intervention, the participants had to complete personal information, food frequency questionnaire and eating behavior questionnaire, one-day dietary records, and a knowledge test. The participants accessed this website for 8 weeks. At week 4, they repeated doing one-day dietary records. At the end of the study, the participants completed eating behavior questionnaires and knowledge test again, as well as a website satisfaction form. After the intervention, the results showed that the participants had significant improvement both in knowledge scores and consumption behavior scores (p < 0.001 and p = 0.041 respectively). However, there was no correlation between nutrition knowledge scores and eating behavior scores. When considering the energy and nutrient intakes of the participants, there were no changes throughout the study, besides a significantly lower intake of sodium (p=0.005). Most participants were satisfied with the educational website (mean score = 3.98 ± 0.85), and the topic that the participants accessed most frequently was nutrition for CKD. This study indicates that the improvement of nutrition knowledge scores did not correlate with improvement of eating behavior. Web-based nutrition education may not be enough to encourage and motivate the CKD patients to make eating behavior change. However, the health educational website is a feasible alternative information source and may be beneficial for patients in learning and proper eating behavior modification.
dc.description.abstractalternativeวัตถุประสงค์ของศึกษานี้เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ให้ความรู้ด้านโภชนาการสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และประเมินผลของการให้ความรู้ด้านโภชนาการผ่านเว็บไซต์ ในช่วงแรกจะเป็นการออกแบบเนื้อหาและเว็บไซต์ตามรูปแบบ ADDIE (การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช้ และการประเมินผล) โดยนำไปประเมินกับผู้ใช้จำนวน 10 ราย แสดงให้เห็นว่าเว็บไซต์ใช้งานได้ง่าย และมีประสิทธิผล จากการประเมินเว็บไซต์โดยใช้แบบสอบถาม พบว่าคะแนนเฉลี่ยในหัวข้อของการใช้ประโยชน์ ความง่ายในการใช้งาน ความง่ายในการเรียนรู้ และความพึงพอใจ อยู่ในระดับค่อนข้างพอใจถึงพอใจ หลังจากที่ได้ปรับปรุงเว็บไซต์เรียบร้อยแล้ว จึงนำไปใช้กับผู้ป่วยในช่วงการศึกษาต่อไป ในช่วงถัดมาเป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลอง โดยนำเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นมาให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ผู้เข้าร่วมการศึกษาเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะก่อนการบำบัดทดแทนไตทั้งสิ้นจำนวน 44 ราย เข้ามาศึกษาในเว็บไซต์ให้ความรู้ www.banraktai.com ก่อนเริ่มต้นการศึกษาผู้เข้าร่วมการศึกษาบันทึกข้อมูลส่วนตัว ทำแบบสอบถามเกี่ยวกับความถี่ในการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการบริโภคอาหาร บันทึกการบริโภคอาหารในหนึ่งวัน และแบบทดสอบความรู้ ผู้เข้าร่วมการศึกษาสามารถเข้ามาในเว็บไซต์ได้ตลอดระยะเวลา 8 สัปดาห์ โดยในสัปดาห์ที่ 4 ผู้เข้าร่วมการศึกษาจะเข้ามาบันทึกการบริโภคอาหารในหนึ่งวัน เมื่อสิ้นสุดการศึกษาผู้เข้าร่วมการศึกษาทำแบบสอบถามเกี่ยวกับความถี่ในการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการบริโภคอาหาร บันทึกการบริโภคอาหารในหนึ่งวัน รวมไปถึงแบบทดสอบความรู้อีกครั้ง และประเมินความพึงพอใจต่อเว็บไซต์ ผลการศึกษาพบว่าหลังจากที่ผู้เข้าร่วมการศึกษาได้รับความรู้ผ่านเว็บไซต์ คะแนนความรู้และคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการศึกษา (p=< 0.001 และ p=0.041 ตามลำดับ) อย่างไรก็ตาม ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนความรู้ด้านโภชนาการกับคะแนนพฤติกรรมการบริโภค เมื่อพิจารณาปริมาณพลังงานและสารอาหารที่ผู้เข้าร่วมการศึกษาได้รับ พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดการศึกษา ยกเว้นปริมาณของการบริโภคโซเดียมที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.005) ในส่วนของการประเมินความพึงพอใจต่อเว็บไซต์พบว่าผู้เข้าร่วมการศึกษาส่วนใหญ่ให้คะแนนอยู่ในระดับพึงพอใจ (คะแนนเฉลี่ย=3.98 ± 0.85) และพบว่าเนื้อหาด้านโภชนาการสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเป็นหัวข้อที่ผู้ร่วมการศึกษามีจำนวนครั้งของการเข้ามาศึกษามากที่สุด จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า การมีความรู้ด้านโภชนาการที่เพิ่มขึ้นไม่ได้แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมการบริโภคที่ดีขึ้น ซึ่งการให้ความรู้ด้านโภชนาการผ่านเว็บไซต์อาจยังไม่เพียงพอที่จะส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคได้ แต่อย่างไรก็ตาม การให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพผ่านทางเว็บไซต์อาจเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของแหล่งข้อมูล และมีประโยชน์สำหรับผู้ป่วยเพื่อการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสม
dc.language.isoen
dc.publisherChulalongkorn University
dc.rightsChulalongkorn University
dc.titleEFFECTIVENESS OF WEB-BASED NUTRITION EDUCATION FOR CHRONIC KIDNEY DISEASE PATIENTS
dc.title.alternativeประสิทธิผลของการให้ความรู้ด้านโภชนาการผ่านเว็บไซต์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
dc.typeThesis
dc.degree.nameMaster of Science in Pharmacy
dc.degree.levelMaster's Degree
dc.degree.disciplineFood Chemistry and Medical Nutrition
dc.degree.grantorChulalongkorn University
dc.email.advisorSuyanee.P@Chula.ac.th,Suyanee.P@chula.ac.th
dc.email.advisorAnuchai.T@Chula.ac.th,anuchai.t@pharm.chula.ac.th
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5576203533.pdf5.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.