Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56628
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร-
dc.contributor.authorโรม วงศ์ประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-12-29T03:46:55Z-
dc.date.available2017-12-29T03:46:55Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745784818-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56628-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพในการทำงานของร่างกายภายใต้ 4 ภาวะ คือ ภาวการณ์ให้น้ำ น้ำมะนาว น้ำส้ม และเครื่องดื่มนักกีฬา แก่ร่างกายขณะทำงาน ผู้เข้ารับการทดลอง เป็นนักกีฬาระดับคณะหรือมหาวิทยาลัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 12 คน ได้รับการทดลองเบื้องต้นให้มีสมรรถภาพใกล้เคียงกันโดยขี่จักรยานวัดงาน จนอัตราการเต้นของหัวใจสูงถึง 170 ครั้งต่อนาที (PWC170) ผู้เข้ารับการทดลองทั้ง 12 คน ได้ถูกกำหนดภาวการณ์ทดลองคนละ 4 ภาวะตามแบบของจัตุรัสสมดุล (Balanced Square Design) ในการทดสอบให้ผู้เข้ารับการทดลองถีบจักรยานวัดงานแบบโมนาร์คตามจังหวะ 50 รอบต่อนาที ในห้องปรับอากาศ ในปริมาณงานหนัก 70% ของ PWC170 ของแต่ละคนจากการทดลองเบื้องต้น ให้ภาวการณ์ทดลองทั้ง 4 ภาวะทุก 10-15 นาที จนไม่สามารถทำงานได้ นำข้อมูลจากการทดลองมาวิเคราะห์ด้วยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance)ผลการวิจัยพบว่า สมรรถภารในการทำงานของร่างกาย ภายใต้ 4 ภาวะ คือ ภาวการณ์ให้น้ำ น้ำส้ม และเครื่องดื่มนักกีฬาแก่ร่างกายขณะทำงาน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare physical performance under four experimental conditions as given by water, lemon juice, orange juice and sports drink. Twelve subjects were faculty and university athletes of chulalongkorn university with the similar physical work capacity (PWC170) testing. One experimental group with 4 treatments was designed by using Balanced Square Design. During experiment the subjects pedalled on the Monark bicycle ergometer at the speed of 50 revolutions per minute in the air conditioned room. The work load was at the 70% of maximum work determined form the first PWC170 testing conditions, were given to each subject in every 10-15 minute until exhaustion. The obtained data were then statistically analyzed by means, standard deviations and One-Way Analysis of Variance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนักกีฬาen_US
dc.subjectนักกีฬา -- โภชนาการen_US
dc.subjectน้ำมะนาวen_US
dc.subjectน้ำส้มen_US
dc.subjectAthletesen_US
dc.subjectAthletes -- Nutritionen_US
dc.subjectLemon juiceen_US
dc.subjectOrange juiceen_US
dc.titleผลของการดื่มน้ำมะนาว น้ำส้มและเครื่องดื่มนักกีฬาที่มีต่อสมรรถภาพในการทำงานของร่างกายen_US
dc.title.alternativeEffects of lemon juice, orange juice and sports drink intake on physical performanceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThanomwong.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rome_wo_front.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
Rome_wo_ch1.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Rome_wo_ch2.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open
Rome_wo_ch3.pdf845.47 kBAdobe PDFView/Open
Rome_wo_ch4.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Rome_wo_ch5.pdf651.78 kBAdobe PDFView/Open
Rome_wo_back.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.