Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธงทิศ ฉายากุล-
dc.contributor.advisorเฉลิมชนม์ สถิระพจน์-
dc.contributor.authorพลภัทร เทียนไทย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2018-01-04T07:02:16Z-
dc.date.available2018-01-04T07:02:16Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56705-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการทรุดตัวของกรุงเทพมหานครในปัจจุบันได้มีการสำรวจและรังวัดระดับ โดยการรังวัดจากงานระดับชั้นที่ 1 ซึ่งททางกรมแผนที่ทหารเป็นผู้รับผิดชอบโดยใช้วิธีการระดับ การใช้วิธีการรดับใช้เวลาและสิ้นเปลืองงบประมาณมาก ในงานวิจัยครั้งนี้ใช้เทคโนโลยี InSAR เข้ามาช่วยเพื่อย่นระยะเวลาการทำงาน รวมทั้งประหยัดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ในการศึกษาที่ผ่านมาเทคโนโลยี InSAR ได้ถูกนำมาใช้ในการสำรวจการทรุดตัว การเคลื่อนตัว อย่างแพร่หลาย โดยมีหลายกรณีศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าการใช้ InSAR เพื่อหาการทรุดตัวสามารถตรวจพบการทรุดตัวของพื้นที่ที่ศึกษาได้ละเอียดถึงมิลลิเมตร การใช้เทคโนโลยี InSAR ในการศึกษาครั้งนี้มีกระบวนการเริ่มตั้งแต่ เลือกภาพถ่ายดาวเทียมจำนวน 1 คู่ภาพ ตรวจสอบค่าของตัวแปรของภาพถ่ายดาวเทียม แปลงภาพถ่ายดาวเทียมให้เป็นภาพเชิงซ้อน ทำการโยงยึดคู่ภาพดาวเทียม สร้าง Interferogram คำนวณหาระยะเส้นฐานและแนวบิน Interferogram Flattenning กำหนดสหสัมพันธ์ Removing topography, Interferogram filtering, Phase unwrapping และ Geocoding เทคนิคในวิจัยครั้งนี้ใช้เทคนิคการประมวลผลจากภาพ SAR จำนวน 2 ภาพจาก 2 ช่วงเวลากับ DEM อีก 1 ภาพ เพื่อหาการทรุดตัวของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ในช่วงการประมวลผลในขั้นตอน phase unwrapping เทคนิค GZW ได้ถูกนำมาใช้เพื่อลดเวลาในการประมวลผลลงและได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องมากกว่าวิธีการ Least square adjustment จากกระบวนการที่กล่าวมาเมื่อนำมาวิจัยในครั้งนี้ เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับหมุดระดับของกรมแผนที่ทหารจำนวน 21 หมุด พบว่าผลที่ได้คือได้ค่าเฉลี่ยของการทรุดตัวคือ 3 มิลลิเมตร และมีความแม่นยำอยู่ที่ 8 มิลลิเมตร หมายถึงสามารถเชื่อได้ว่ามีการทรุดตัวเมื่อในบริเวณนั้นมีการทรุดตัวมากกว่า 8 มิลลิเมตรen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays there have been surveys and measurings land subsidence of Bangkok by using first order differential leveling method which operated by Royal Thai Survey Department, but it take a long time and high expenses. This research has applied InSAR in order to reduce time and also the budget. In the past studies, InSAR technology have been largely used in survey land subsidence and movement. They shown that using InSAR can inspect land subsidence with millimeters accuracy. The process of this research begins with select a proper pair of SAR images, raw data conditioning, processing data into Single Look Complex images, image registration, form interferogram, baseline determination, interferogram flattening, correlation determination, removing topography, interferogram filtering, phase unwrapping and Geocoding. The technique of using two SAR images from two different period of time and one DEM has been used. Along with the GZW technique for phase unwrapping, for faster and more accurate than least square adjustment method the subsidence of Bangkok can be detected. From this process, the research's result is the average of land subsidence with 3 millimeters, but precision with 8 millimeters. So land subsidence can be informed if that area has land subsidence rate more than 8 millimeters.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1220-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินทรุด -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกลen_US
dc.subjectเรดาร์ทางวิทยาศาสตร์โลกen_US
dc.subjectSubsidences (Earth movements) -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.subjectRemote sensingen_US
dc.subjectRadar in earth sciencesen_US
dc.titleการประเมินความแม่นยำของเทคโนโลยี InSAR ในการศึกษาการทรุดตัวของดินในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeAccuracy assessment of InSAR technology for land subsidence study in Bangkok areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThongthit.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorChalermchon.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1220-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phonlapat_th_front.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
phonlapat_th_ch1.pdf502.91 kBAdobe PDFView/Open
phonlapat_th_ch2.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open
phonlapat_th_ch3.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
phonlapat_th_ch4.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open
phonlapat_th_ch5.pdf424.41 kBAdobe PDFView/Open
phonlapat_th_back.pdf405 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.