Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56706
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเชษฐ์ ลิขิตเลอสรวง-
dc.contributor.advisorฐิรวัตร บุญญะฐี-
dc.contributor.authorจักรกฤษณ์ จันจัด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2018-01-04T07:21:37Z-
dc.date.available2018-01-04T07:21:37Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56706-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractประเมินความถูกต้องของค่าพารามิเตอร์สำหรับการทดสอบเสาเข็มเจาะ โดยวิธีพลศาสตร์ในชั้นดินกรุงเทพฯ โดยใช้ข้อมูลจากผลการทดสอบกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะด้วยวิธีสถิตศาสตร์ ที่มีการติดตั้งเครื่องมือวัดชนิด VWSG และผลการทดสอบกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ ด้วยวิธีพลศาสตร์ของเสาเข็มเจาะต้นเดียวกัน รวมทั้งพิจารณาถึงอิทธิพลของค่าแรงต้านทานของแต่ละชั้นดิน ค่า quake และ smith damping factor (SS) ที่มีต่อผลการวิเคราะห์กำลังรับน้ำหนักบรรทุกด้วยวิธีพลศาสตร์ จากการศึกษาอิทธิพลของค่า SS ที่มีต่อการวิเคราะห์หากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะพบว่า ค่า SS ที่โปรแกรมได้แนะนำสำหรับชั้นดินเหนียวคือ 0.66 สอดคล้องกับผลของงานวิจัยครั้งนี้คือ 0.70 สำหรับชั้นทาย ค่า SS ที่โปรแกรมแนะนำคือ 0.16 ไม่สอดคล้องกับผลของงานวิจัยครั้งนี้ซึ่งเท่ากับ 0.70 ซึ่งสันนิษฐานว่ามีสาเหตุจากชั้นทรายกรุงเทพฯ ที่มีคุณสมบัติต่างจากชั้นทรายในต่างประเทศ โดยมีปริมาณของอนุภาคขนาดเล็กค่อนข้างมาก รวมทั้งอาจเป็นเพราะการทดสอบกระทำกับเสาเข็มเจาะในขณะที่ค่า SS ที่แนะนำได้มาจากฐานข้อมูลของเสาเข็มตอกเป็นส่วนใหญ่ จากการศึกษาถึงอิทธิพลของค่าพารามิเตอร์ที่มีต่อผลการทดสอบด้วยวิธีพลศาสตร์พบว่า การเลือกใช้ค่า SS ต่ำ จะมีผลทำให้ค่าแรงต้านทานสถิตรวมและแรงต้านที่ปลายเข็มที่คำนาณได้มีค่าต่ำกว่าความเป็นจริง อนึ่งการวิจัยครั้งนี้มีข้อจำกัดคือ การใช้ข้อมูลสนับสนุนจากผลการทดสอบเสาเข็มเจาะ ด้วยวิธีสถิตศาสตร์และวิธีพลศาสตร์ที่กระทำบนเสาเข็มต้นเดียวกันเพียง 1 ต้น และระยะระหว่างเสาเข็มทดสอบกับเสาเข็มสมอ ที่มีระยะห่างสามเท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็ม ซึ่งไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ คือห้าเท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็มen_US
dc.description.abstractalternativeTo verify the value of parameters for dynamic load testing of bored piles in Bangkok subsoil. The research is conducted based on results of static load testing of a VWSG instrumented bored pile and dynamic load testing of the same pile. In addition, parametric studies of bearing capacity parameter, quake and Smith damping factor (SS) are also carried out. Based on parametric study of the influence of SS on bearing capacity determination, the recommended value of SS for clayey soil, which is 0.66, agress with the value of 0.70 obtained in this study. However, the recommended value of sand (0.16) is lower than the value obtained in this study, which is 0.70. It is suspected that the discrepancy is due to the high amount of fine particles in Bangkok sand. Moreover, the recommended value is based mainly on the database of driven pile. It is also founded that predicted static bearing capacity of pile varies inversely with the value of SS. For instance, lower value of SS will result in higher value of static shaft and toe resistances of pile. Finally, It is noted that this study is conducted based on only one poile load test and the distance between test pile and anchor piles is not equal to five times of pile diameter as specified in ASTM standard (D 1143).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.994-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเสาเข็มen_US
dc.subjectดิน -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectเสาเข็ม -- พลศาสตร์en_US
dc.subjectPiling (Civil engineering)en_US
dc.subjectSoils -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.subjectPiling (Civil engineering) -- Dynamicsen_US
dc.titleการประเมินค่าความถูกต้องของค่าพารามิเตอร์สำหรับการทดสอบเสาเข็มเจาะโดยวิธีพลศาสตร์en_US
dc.title.alternativeParameters verification for dynamic load test of bored pilesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuched.L@Chula.ac.th-
dc.email.advisorTirawat.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.994-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chakkrit_ch_front.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
chakkrit_ch_ch1.pdf447.48 kBAdobe PDFView/Open
chakkrit_ch_ch2.pdf4.11 MBAdobe PDFView/Open
chakkrit_ch_ch3.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
chakkrit_ch_ch4.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open
chakkrit_ch_ch5.pdf418.61 kBAdobe PDFView/Open
chakkrit_ch_back.pdf5.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.