Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปราณี เลิศสุทธิวงค์-
dc.contributor.authorสรวิศ เผ่าทองศุข-
dc.contributor.authorวิบูลย์ลักษณ์ พึ่งรัศมี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ-
dc.date.accessioned2018-01-23T04:43:46Z-
dc.date.available2018-01-23T04:43:46Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56795-
dc.description.abstractงานวิจัยในปีที่ 1 นี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตรึงเชื้อไนไทรต์ออกซิไดซิงแบคทีเรียบนวัสดุชีวภาพไคโตซาน ซึ่งปัจจัยที่ทำการศึกษา ได้แก่ ระยะเวลาในการตรึงเชื้อไนไทรต์ออกซิไดซิงแบคทีเรีย ค่าความเป็นกรด-ด่างหรือพีเอชที่ใช้ในการปรับประจุบนพื้นผิวของไคโตซาน และขนาดของไคโตซาน จากผลการทดลองพบว่าเมื่อเพิ่มระยะเวลาในการตรึงเชื้อนานขึ้น (สูงสุด 24 ชั่วโมง) ส่งผลให้ปริมาณเชื้อที่ตรึงบนวัสดุไคโตซานซึ่งตรวจวัดจากอัตราการบำบัดไนไทรต์มีมากขึ้นตามไปด้วย และเมื่อปรับประจุบนพื้นผิวของไคโตซานให้มีประจุบวกในสภาวะกรดอ่อน (พีเอช5.5-6.5) ทำให้สามารถจับกับเชื้อได้ดีขึ้น ส่งผลให้อัตราการบำบัดไนไทรต์สูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุมที่ไม่ได้ปรับประจุบนพื้นผิวไคโตซานหรือชุดที่ปรับพีเอชเท่ากับ 7.5 นอกจากนี้ขนาดของไคโตซานยังมีผลต่อการตรึงเชื้อไนไทรต์ออกซิไดซิ่งแบคทีเรียเช่นกัน โดยพบว่าไคโตซานที่มีขนาดเล็กจะมีพื้นมากส่งผลให้มีพื้นที่ในการเกาะติดของเชื้อมากขึ้น ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ระยะเวลาในการตรึงเชื้อ การปรับประจุบนพื้นผิว และขนาดของไคโตซานมีผลต่อการตรึงเชื้อไนไทรต์-ออกซิไดซิงแบคทีเรีย โดยสภาวะที่เหมาะสมในการตรง คือ ไคโตซานควรมีขนาดประมาณ 1-5 มม, และทำการปรับประจุบนพื้นผิวไคโตซานด้วยบัฟเฟอร์ที่พีเอช 6.5 และระยะเวลาในการตรึงเชื้อ เท่ากับ 24 ชั่วโมงen_US
dc.description.abstractalternativeThe first year research has been focused on parameter affecting the immobilization of nitrite oxidizing bacteria (NOB) on chitosan biomaterial i.e. immobilization time, surface charge modification by pH pretreatment and particle size of chitosan. The results demonstrated that the amount of NOB immobilized on chitosan, as indicated by nitrite removal rate, increased with the incubation time (up to 24 h). In slightly acidic treatment (pH 5.5-6.5), positive charges dominated on the surface of chitosan particles enhanced NOB attachment on chitosan surface. As a result, nitrite removal rate was therefore enhanced when compared with control and pH 7.5. In addition, size of chitosan particles also affected the immobilization of NOB. Smaller particle size of chitosan provided larger surface area for NOB attachment hence higher nitrite removal was found. In conclusion, immobilization time, pH pretreatment and size of chitosan affects the immobilization of NOB on chitosan and the optimal condition for NOB immobilization was 1-5 mm chitosan particles with pH 6.5 pre-treatment and incubating for the duration of 24 hours.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์en_US
dc.subjectการจัดการคุณภาพน้ำen_US
dc.subjectไคโตแซนen_US
dc.subjectไนตริไฟอิงแบคทีเรียen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมกุ้งen_US
dc.subjectWater -- Purificationen_US
dc.subjectWater quality managementen_US
dc.subjectChitosanen_US
dc.subjectNitrifying bacteriaen_US
dc.subjectShrimp industryen_US
dc.titleการตรึงไนตริไฟอิงแบคทีเรียบนวัสดุชีวภาพไคโตซานเพื่อใช้ในการบำบัดน้ำในบ่อเลี้ยงกุ้ง : รายงานวิจัยen_US
dc.title.alternativeImmobilization of nitrifying bacteria on chitosan biomaterial for water treatment in shrimp ponden_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Metal - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pranee_le_016743.pdf4.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.