Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมรชัย ตันติเมธ-
dc.contributor.authorสายฝน เชิงเชาว์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2018-01-25T11:10:59Z-
dc.date.available2018-01-25T11:10:59Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745823007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56829-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการตัดสินใจสั่งการและปัญหาของการตัดสินใจสั่งการในงานบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร โดยผู้วิจัยได้ใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้บริหาร 30 คน และ ใช้แบบสอบถามกับอาจารย์จำนวน 780 ฉบับ ได้รับแบบสอบถามคืนมา 636 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 81.54 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ผลการวิจับพบว่าผู้บริหารส่วนใหญ่เห็นว่าวิธีการตัดสินใจสั่งการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ในงานบริหารการศึกษา 5 ด้าน ผู้บริหารใช้วิธี "ผู้บริหารรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ก่อนที่จะตัดสินใจ" ในการบริหารงานวิชาการ ใช้วิธี "ผู้บริหารตัดสินใจเอง แล้วแจ้งให้อาจารย์ทราบ" ในการบริหารงานบุคลากร และงานธุรการ การเงินพัสดุและอาคารสถานที่ ใช้วิธี "ผู้บริหารมอบหมายให้อาจารย์หรือกลุ่มอาจารย์ทำการตัดสินใจในขอบเขตที่กำหนดไว้" ในการบริหารงานกิจการนักเรียน ใช้วิธี "ผู้บริหารร่วมกับคณะกรรมการหรือกลุ่มอาจารย์ทำการตัดสินใจ" ในการบริหารงานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน อาจารย์ส่วนใหญ่เห็นว่า ผู้บริหารใช้วิธีการตัดสินใจสั่งการ โดยวิธี "ผู้บริหารร่วมกับคณะกรรมการหรือกลุ่มอาจารย์ทำการตัดสินใจ" ในการบริหารงานวิชาการ งานกิจการนักเรียนและงานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ใช้วิธี "ผู้บริหารตัดสินใจเองแล้วแจ้งให้อาจารย์ทราบ" ในการบริหารงานบุคลากร และงานธุรการ การเงิน พัสดุและอาคารสถานที่ ปัญหาของการตัดสินใจสั่งการนั้น ปัญหาที่เกิดมากที่สุด คือ ตัดสินใจสั่งการไม่ตรงกับความต้องการของอาจารย์ ปัญหาที่เกิดรองลงมา คือ ปัญหาข้อจำกัดของเวลาen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the decision-making methods and problems in decision making of large private secondary schools Administrators in Bangkok Metropolis. Samples were 33 administrators and 780 teachers. Structure interview and questionnaires were used to collect data from administrators and teachers respectively. Thirty administrators were interviewed and 636 questionnaires were responded. The data were analyzed by frequency and percents. Research findings were as follows : For the Administrators, point of views, according to the academic administration, administrators listen to teachers' opinions before making the decision. According to personnel administration, finance and school plant administration, administrators made decision by their own judgement and informed teachers later. According to the student affair administration, teachers were assigned by administrator to make their own decision. According to the school-community relationship administration, The decisions were made by joint-opinion between teachers and administrators. For teachers' point of views, according to the academic administration, student affair administration and school-community relationship administration, the decision were made by joint-opinion between administrators and teachers. According to personnel administration, finance and school plant administration, administrators made decision by their own judgement and informed teachers later. Problems in decision-making were that the decision made by administrators were not congruent with teachers' expectation, and the limitation of time.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- การวินิจฉัยสั่งการen_US
dc.subjectการวินิจฉัยสั่งการen_US
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหารen_US
dc.subjectSchool administrators -- Decision makingen_US
dc.subjectDecision makingen_US
dc.subjectSchool management and organizationen_US
dc.titleการศึกษาการตัดสินใจสั่งการ ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeA study of administrators' decision making in the large private secondary schools, Bangkok metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAmornchai.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saifon_ch_front.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Saifon_ch_ch1.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Saifon_ch_ch2.pdf6.04 MBAdobe PDFView/Open
Saifon_ch_ch3.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
Saifon_ch_ch4.pdf4.21 MBAdobe PDFView/Open
Saifon_ch_ch5.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
Saifon_ch_back.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.