Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57070
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา ทาโต-
dc.contributor.authorทิพย์วรรณ บุณยาภรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคใต้)-
dc.date.accessioned2018-02-16T06:23:10Z-
dc.date.available2018-02-16T06:23:10Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57070-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยที่เปรียบเทียบได้กับการวิจัยแบบทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง และการรับรู้ประโยชน์ต่อพฤติกรรมการออกกําลังกาย และการจัดการกับความเครียดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้ โดยใช้รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของ Pender (2002) และแนวคิดการรับรู้ความสามารถของตนเองของ Bandura (1997) มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้ อายุไม่เกิน 19 ปี จํานวน 42 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 21 คน โดยจับคู่กลุ่มตัวอย่างให้เหมือนกันในเรื่องความเพียงพอของรายได้และลักษณะครอบครัว จับฉลากกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติและกลุ่มทดลอง ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองและการรับรู้ประโยชน์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถและการรับรู้ประโยชน์ที่ประกอบด้วย แผนการสอน ภาพพลิกและคู่มือเรื่องการออกกำลังกาย และการจัดการกับความเครียดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดพฤติกรรมการออกกําลังกาย และแบบวัดพฤติกกรมการจัดการกับความเครียดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้ โดยได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยง มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .89 และ .77 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการทดสอบค่าที ผลการวิจัย 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกําลังกายของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้ ภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองและการรับรู้ประโยชน์สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .001) 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้ หลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง และการรับรู้ประโยชน์สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .001) 3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกําลังกายของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง และการรับรู้ประโยชน์สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .001) 4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการจัดการกับความเครียดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง และการรับรู้ประโยชน์สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .001)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this comparative experimental design was to examine effects of the perceived self-efficacy and perceived benefits promoting program on exercise behavior and stress management of pregnant teenagers in the South. Pender’s Health Promotion Model (2002) and the Self-Efficacy Theory of Bandura (1997) were utilized to develop the intervention. Subjects consisted of 42 pregnant teenagers. Subjects were randomly assigned to control and experimental groups, 21 for each group. Participants were matched by income and type of family. The control group received routine nursing care while the experimental group received the perceived self-efficacy and perceived benefits promoting program. The intervention included lesson plans, flip charts and handbook. Exercise and stress management behaviors were assessed using questionnaires. They were tested for content validity and reliability. Cronbach’s alpha coefficients of the questionnaires were .87 and .77, respectively. Data were analyzed using descriptive and t-test statistics. The major findings were as follows: 1. The mean score of exercise behavior of pregnant teenagers in the South after receiving the perceived self-efficacy and perceived benefits promoting program was significantly higher than before receiving the program (p < .001). 2. The mean score of stress management behavior of pregnant teenagers in the South after receiving the perceived self-efficacy and perceived benefits promoting program was significantly higher than before receiving the program (p < .001). 3. The mean score of exercise behavior of pregnant teenagers in the South of the experimental group receiving the perceived self-efficacy and perceived benefits promoting program was significantly higher than those of the control group (p < .001). 4. The mean score of stress management behavior of pregnant teenagers in the South of the experimental group receiving the perceived self-efficacy and perceived benefits promoting program was significantly higher than those of the control group (p< .001).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1246-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครรภ์ในวัยรุ่น -- ไทย (ภาคใต้)en_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.subjectการออกกำลังกายen_US
dc.subjectความสามารถในตนเองen_US
dc.subjectการบริหารความเครียดen_US
dc.subjectTeenage pregnancy -- Thailand, Southernen_US
dc.subjectHealth behavioren_US
dc.subjectExerciseen_US
dc.subjectSelf-efficacyen_US
dc.subjectStress managementen_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองและการรับรู้ประโยชน์ ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายและการจัดการกับความเครียดของผู้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นภาคใต้en_US
dc.title.alternativeEffect of the perceived self-efficacy and perceived benefits promoting program on exercise behavior and stress mangement of pregnant teenagers in the Southen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSathja.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1246-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tippawan_bo_front.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
tippawan_bo_ch1.pdf1.61 MBAdobe PDFView/Open
tippawan_bo_ch2.pdf5.3 MBAdobe PDFView/Open
tippawan_bo_ch3.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open
tippawan_bo_ch4.pdf908.16 kBAdobe PDFView/Open
tippawan_bo_ch5.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open
tippawan_bo_back.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.