Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรัตน์ บัวเลิศ-
dc.contributor.advisorกำธร ธีรคุปต์-
dc.contributor.authorหิรัญ แสวงแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2018-02-28T07:16:31Z-
dc.date.available2018-02-28T07:16:31Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57299-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลชนิดของสัตว์ปีก และสัตว์อื่นๆ ที่ติดเชื้อไข้หวัดนก ช่วงเวลาและแหล่งที่มีการระบาดของไข้หวัดนกในประเทศไทย รวบรวมข้อมูลปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมกับการระบาดของไข้หวัดนก เพื่อประเมินความเสี่ยงการระบาดและออกแบบระบบเตือนภัยโรคไข้หวัดนก ผลการศึกษาพบว่าการเป็นจุดเริ่มต้นของโรคมีความสัมพันธ์กับความแตกต่างของอุณหภูมิในรอบวัน ความแตกต่างของความเร็วลมในรอบวัน ความหนาแน่นของหมู่บ้านในรัศมี 5 กิโลเมตร และระยะห่างจากจุดเกิดโรคในครั้งก่อน พบว่าจำนวนหมู่บ้านในรัศมี 5 กิโลเมตร มีความสัมพันธ์กับการระบาดของโรค ระหว่างปี 2547-2551 การประเมินความเสี่ยงต่อการเป็นจุดเริ่มต้นของโรคในครั้งนี้ได้ใช้สถิติเชิงพรรณนาโดยถือว่าหากมีการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมสูงกว่าค่าของ sensitivity ที่ต่ำที่สุดหมายความว่ามีความเสี่ยง สำหรับการออกแบบระบบเตือนภัยได้กำหนดเงื่อนไขและขั้นตอนดังนี้ คือ ตรวจสอบข้อมูลสภาพอากาศในรอบวัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลนำมาตรวจสอบในรูปแบบตามความสัมพันธ์ และประเมินความเสี่ยง และหากผลที่ได้อยู่ในช่วงของความเสี่ยงจะดำเนินการขั้นต่อไปคือ แจ้งหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบในพื้นที่เฝ้าระวังการเกิดโรคไข้หวัดนกต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to collect the poultry and other animals Infected with Avian Influenza (AI ; H5N1), study the relationship between environmental factors and the outbreak of AI, assess the risk of AI epidemic, and design warning system of AI for Thailand. The results showed that the onset of the disease correlated with differences in temperature and wind speed during the day, density of villages in a radius of five kilometers, and distance from the last AI outbreak area. It was found that the number of villages in a radius of five kilometers correlated to the outbreak of the disease during the years 2004-2008. Risk assessment analyzed by descriptive statistics and the sensitivity equation showed that the risk of the onset will be considered to occur when the environmental changes value is higher than the minimum sensitivity value. For the warning system design, the environmental condition will be recorded daily and the data obtained will be checked with the sensitivity equation. If the result is in the range of risks, local government agencies will be informed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2115-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไข้หวัดนกen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมกับการระบาดของไข้หวัดนก การประเมินความเสี่ยง และการออกแบบระบบเตือนภัยen_US
dc.title.alternativeRelationship of environmental factors to outbreak of avian influenza, risk assessment and warning system designen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSurat.B@Chula.ac.th-
dc.email.advisorkumthorn.t@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.2115-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hirun Sawaengkaew.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.