Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสืบสกุล พิภพมงคล-
dc.contributor.advisorสรวิศ นฤปิติ-
dc.contributor.authorกฤษดา โชคสินอนันต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-04T08:19:33Z-
dc.date.available2008-02-04T08:19:33Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743345183-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5779-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ได้เสนอวิธีการตรวจจับความเร็วของรถยนต์โดยการประมวลผลข้อมูลภาพที่ได้จากสัญญาณวีดิทัศน์โดยทำงานแบบทันกาล การวัดทำความเร็วกระทำโดยการคำนวณหาระยะทางจริงของรถที่เคลื่อนไปในภาพแล้วหารด้วยระยะเวลาการเคลื่อนที่ของรถ เทคนิคด้านการประมวลผลภาพหลายวิธีได้ถูกนำมาใช้เพื่อหาตำแหน่งของรถ ในที่นี้ได้ทำการพัฒนาขั้นตอนวิธีในการเพิ่มความแม่นยำในการหาตำแหน่งของรถซึ่งจะส่งผลให้การวัดความเร็วมีความผิดพลาดน้อยลง การทดกระทำโดยการใช้ภาพวีดิทัศน์ที่บันทึกจากสภาพจราจรจริง การวัดความเร็วอ้างอิงของรถทำโดยใช้เรดาร์เป็นเครื่องมือวัด ความเร็วของรถที่สุ่มวัดในการทดสอบอยู่ระหว่าง 32 ถึง 79 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จากการทดสอบพบว่าค่าเฉลี่ยของความแตกต่างสูงสุดของความเร็วที่วัดได้จากโปรแกรมเมื่อเทียบกับที่วัดจากเรดาร์ มีค่าไม่เกิน 3.23 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และความเบี่ยงเบนมาตรฐานของความแตกต่างนี้ไม่เกิน 2.23 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความสามารถในการตรวจจับความเร็วของระบบอยู่ระหว่าง 15 ถึง 94 กิโลเมตรต่อชั่วโมงen
dc.description.abstractalternativeThis thesis presented a method to detect vehicle speed by processing the image data from video signal in real time. The speed measuring process was done by calculating the real distance that the vehicles moved corresponding to the vehicle displacement in the image and dividing this value by the travelling time, resulting in the speed value. Many image processing techniques were used to find the vehicle position. An algorithm was developed to improve the accuracy of the position finding, thus, lowering the speed error. The test was performed using recorded video images from real road traffic. A radar was used to measure the vehicle reference speed. The sampled vehicles had the speed between 32 and 79 kilometers per hour. The result showed that the average of the maximum differences between the resulting speed and the radar speed was within 3.23 kilometers per hour and the standard deviation of the differences was within 2.23 kilometers per hour. The speed detection range of this system is between 15 and 94 kilometers per hour.en
dc.format.extent4903945 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรถยนต์ -- ความเร็ว -- สถิติen
dc.subjectการประมวลผลภาพ -- เทคนิคดิติตอลen
dc.subjectวีดิทัศน์en
dc.titleการตรวจจับความเร็วรถยนต์แบบทันกาลโดยใช้การประมวลผลภาพวีดิทัศน์en
dc.title.alternativeReal time vehicle speed detection using video image processingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsuebskul.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorSorawit.N@Chula.ac.th, kong@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
krissada.pdf4.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.