Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPaveena Chaovalitwongse-
dc.contributor.authorApasorn Prairajata-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2018-03-25T03:24:46Z-
dc.date.available2018-03-25T03:24:46Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57915-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2009en_US
dc.description.abstractThis thesis studies the warehousing process of finished goods in juice manufacturer, hereinafter referred as ABC company. Although the business model is ‘Make-to-Order’ policy, there are still difficulties regarding warehousing process which comes from the requirement factors of its production and customer orders. The significant role of this warehouse is to assembly finished goods from various production batches according to each customer order. Each order instructions has to collect product from many production batches which came in the different time. It causes the inventory holding to wait for the completeness of each order. In the preliminary observation, the significant facing problem is the situation that was unable to load product out as scheduled due to the unready of order fulfilling step so that this is the focusing area in warehousing process improvement. The warehousing process analysis and the problem solving showed two significant root causes. Firstly, the warehouse is unorganised and leads to difficulty to control and investigate warehouse. Secondly, the warehousing process flow is inappropriate, which is emphasis only on the picking process while ignoring the role of inbound receiving. The pick- process took long time by searching and collecting product from all warehouse area as the inbound and storage are unconcern in the accessibility of the outbound. Moreover, The product profiling analysis showed that many flow lines act like a cross-docking flow, which means no storage activities and fast coming-in and going-out. The suitable warehousing improvement concept is the controlling strategy of activities category policy and also need to consider the cross-docking concept. In the warehousing improvement, warehousing plan was used as tool for controlling and monitoring the warehouse activities which is sensible pattern following the order characteristic and production plan. The proposal for warehousing improvement includes three designs. First, the design of planning flow process to define the cross-docking flow and the short-term product in advance. This algorithm purposes on controlling and monitoring warehouse by forming product profile at the inbound receiving stage especially the cross-docking line. Second, the warehousing flow is redesigned to be appropriate for the actual product and activities in warehouse and also the warehousing planning design. Finally, the warehouse layout is set by zoning warehousing activities for the ease of control and investigation. This warehousing improvement result shows that the percentage of order fulfilment process failure was reduced from 5.45% to 1.41% or about 74% improving. The percentage of failure is dramatically reducing to be 3.3% in first month from the average value of two previous months at 5.45%. After that, the failure is gradually reducing to be about 0-1.5% in the last researching period. Furthermore, the warehousing operation is easier to control and operate. Warehousing flow becomes smooth. The cross docking is identified and directly sent to picking at the beginning of inbound receiving stage. The activities zoning layout reduces time of searching process as the boundary guideline.en_US
dc.description.abstractalternativeวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการศึกษา คลังสินค้าสำเร็จรูปของโรงงานผลิตน้ำผลไม้ ซึ่งจะขอกล่าวอ้างอิงเป็นโรงงานเอบีซี แม้ว่าลักษณะการดำเนินงานของโรงงานศึกษาจะใช้นโยบายการผลิตตามคำสั่งซื้อ การดำเนินงานภายในคลังสินค้ายังค่อนข้างซับซ้อนและต้องการความยืดหยุ่นสูงซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากนโยบายทางการผลิตและลักษณะความต้องการของลูกค้า คลังสินค้าทำหน้าที่หลักในการรับสินค้าจากฝ่ายการผลิตเพื่อทำการรวบรวมและจัดเรียงตามคำสั่งซื้อของลูกค้า ซึ่งแต่ละใบสั่งซื้อมักจะมีความหลากหลายทำให้จำเป็นจะต้องรวบรวมสินค้าจากหลายรอบการผลิต และมีช่วงเวลาการรับเข้าคลังที่แตกต่างกัน ซึ่งทำให้ต้องมีการเก็บรักษาสินค้าจากการผลิตในบางช่วงเวลาเพื่อรอให้ใบสั่งซื้อของลูกค้าสมบูรณ์ตามรายการสั่งสินค้าทั้งหมดเพื่อทำการจัดส่ง ในเบื้องต้นพบปัญหา ความล้มเหลวในการดำเนินการออกสินค้าตามใบคำสั่งซื้อ ซึ่งถือเป็นปัญหาหลักของการศึกษาในงานวิจัยการปรับปรุงกระบวนการจัดการการคลังสินค้านี้ ในขั้นแรกผู้จัดทำได้ศึกษากระบวนการคลังสินค้า พบว่า แม้ว่าปัญหา นั้นเกี่ยวเนื่องกับกระบวนการทำงานในคลังสินค้าทั้งหมดโดยมาจากสาเหตุหลัก ดังนี้ การขาดการจัดระเบียบภายในคลังสินค้า ส่งผลให้เกิดความยากต่อการตรวจสอบและการปฏิบัติงานในขณะที่ง่ายต่อการเกิดความผิดพลาดโดยเฉพาะทางด้านข้อมูล และ การที่คลังสินค้ามีกระบรวนการทำงานที่ไม่สอดคล้องกับการไหลของตัวสินค้าและการปฏิบัติงานจริง เนื่องจากให้ความสำคัญกับกระบรวนการหยิบสินค้าในลักษณะการหยิบจากพื้นที่เก็บรักษาที่แทนด้วยขอบเขตของพื้นที่คลังสินค้าทั้งหมด โดยที่ไม่ได้คำนึงถึงกระบรวนการรับเข้าเพื่อสนับสนุนกิจกรรมการนำออก ทำให้มักพบปัญหาในเข้าถึงและนำออกสินค้าที่ต้องการ นอกจาก นี้ยังพบว่าภายในคลังสินค้ามีการไหลของสินค้าจำนวนมาก โดยที่มีพฤติกรรมการไหลผ่านระบบในเวลาอันสั้นคล้ายคลึงกับกิจกรรม cross-docking คือแทบจะไม่มีกิจกรรมการเก็บรักษาเลย แนวคิดที่นำเสนอในการควบคุมจัดการคลังสินค้าได้แบ่งกิจกรรมหลักและนำหลักการ cross-dockingเข้ามาร่วมพิจารณา ซึ่งได้นำการวางแผนกิจกรรมเข้ามาประยุกต์ใช้ในแนวทางการปรับปรุงดังนี้ 1.ออกแบบหลักการวางแผนกระบรวนการทำงานภายในคลังสินค้าล่วงหน้าเพื่อควบคุมกลไกลการไหลภายในคลังสินค้าและชี้นำกิจกรรม cross-docking 2.ทบทวนและปรังปรุงกระบวนการไหลของงานภายในคลังสินค้า ให้สอดคล้องกับระบบการวางแผนและลักษณะการไหลจริงของสินค้าภายในคลังสินค้า 3.ทำการออกแบบผังการแบ่งโซนของพื้นที่คลัง สินค้าเพื่อให้ง่ายต่อการควบคุมดูแลและดำเนินงาน จากผลการปรับปรุงพบว่า ผลการปฏิบัติงานของคลังสินค้าโดยรวมดีขึ้น ดังนี้ ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนความล้มเหลวในการนำออกสินค้า ลดลง จาก 5.45% ก่อนการปรับปรุง เหลือเพียง 1.41% หลังการปรับปรุง หรือปรับปรุงดีขึ้นประมาณ 74% โดยในเดือนแรกของการปรับปรุงอัตราส่วนความล้มเหลวลดลงอย่างรวดเร็วเหลือเพียง 3.3% แล้วค่อยๆลดลงต่อในเดือนถัดไป โดยมีแนวโน้มของค่าอยู่ในช่วง 0-1.5% นอกจากนี้ พบว่า กิจกรรม cross-docking เกิดการส่งผ่านโดยตรงจากขั้นตอนการรับเข้าไปสู่การจัดเรียงใบสั่งซื้อ และ การออกแบบแบ่งโซนตามกิจกรรมหลัก ช่วยลดเวลาในการตามหาสินค้าเนื่องจากคนงานสามารถระบุขอบเขตในการตามหาได้ นอกเหนือจากนี้ ปฏิบัติการในคลังสินค้ามีการดำเนินงานและทำการควบคุมได้สะดวกขึ้นen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1648-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectWarehouses -- Managementen_US
dc.subjectFruit juice industryen_US
dc.subjectProcess controlen_US
dc.subjectการจัดการคลังสินค้าen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมน้ำผลไม้en_US
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen_US
dc.titleWarehousing process improvement in juice manufactureen_US
dc.title.alternativeการปรับปรุงกระบวนการคลังสินค้าในโรงงานผลิตน้ำผลไม้en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Engineeringen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineEngineering Managementen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorpaveena.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1648-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apasorn Prairajata.pdf99.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.