Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58205
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกษม ชูจารุกุล | - |
dc.contributor.author | อรณิชา มัจฉาฉ่ำ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-04-11T01:33:18Z | - |
dc.date.available | 2018-04-11T01:33:18Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58205 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 | - |
dc.description.abstract | การแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดในกรุงเทพมหานคร จำเป็นต้องมีตัวชี้วัดปริมารการจราจรเพื่อเป็นเกณฑ์ในการวัดระดับการให้บริการ ปัจจุบันประเทศไทยใช้เกณฑ์ของหน่วยงานประเทศสหรัฐอเมริกาTransport Research Board (TRB) เป็นเกณฑ์อ้างอิงซึ่งมีความแตกต่างในด้านกายภาพของถนนรวมถึงการขับขี่ของยานพาหนะ ซึ่งการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงระดับการให้บริการในมุมมองของผู้ขับขี่ภายใต้กระแสจราจรที่มีรถจักรยานยนต์ขับขี่ร่วมกับยานพาหนะชนิดอื่น และทำการเปรียบเทียบการประเมินระดับการให้บริการของผู้ขับขี่ภายใต้กระแสจราจรที่มีรถจักรยานยนต์ขับขี่ร่วมกับยานพาหนะชนิดอื่น ซึ่งในงานวิจัยผู้วิจัยได้ทำการเก็บข้อมูลผู้ที่เดินทางในกรุงเทพมหานครจำนวน 400 ตัวอย่าง ซึ่งแบ่งออกเป็น กลุ่มผู้ไม่มีประสบการณ์ในการขับขี่รถจักรยานยนต์ 289 คนและกลุ่มผู้มีประสบการณ์ในการขับขี่จำนวน 111 คน ซึ่งการเก็บข้อมูลผู้วิจัยใช้การเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม พร้อมทั้งเปิดวีดีทัศน์สถานการณ์จำลอง จำนวน 6 ระดับ ซึ่งได้แก่ ระดับคล่องตัวมาก ถึง ระดับติดมากสุด โดยผู้วิจัยใช้ปัจจัยในด้าน จำนวนช่องจราจร ร้อยละของรถจักรยานยนต์ในระดับ มุมมองที่ใช้ในการประเมินสภาพการจราจร เป็นปัจจัยที่ให้ในการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์กับระดับการให้บริการ ซึ่งจากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม สามารถประเมินสภาพการจราจรที่ได้รับชมจากวีดีทัศน์สถานการณ์จำลองที่สถานการณ์การวิเคราะห์สภาพการจราจรโดยรวมของยานพาหนะทั้งระบบและการวิเคราะห์สภาพการจราจรเฉพาะรถจักรยานยนต์ที่ขับขี่ร่วมกับยานพาหนะชนิดอื่น สามารถประเมินสภาพการจราจรออกได้เพียง 3 – 4 ระดับ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างไม่สามารถที่จะรับรู้สภาพการจราจรในระดับติดขัดได้ และจากการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์สภาพการจราจรพบว่าตัวแปรที่มีผลต่อการประเมินระดับการให้บริการของทั้ง 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประสบการณ์ในการขับขี่รถยนต์และจำนวนช่องจราจร จากผลการศึกษาผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้มีการพัฒนาเกณฑ์ในการกำหนดระดับการให้บริการเพื่อใช้เป็นตัวชี้วัดระดับการให้บริการที่ของถนนที่สอดคล้องกับการรองรับปริมาณรถจักรยานยนต์ที่เพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน | - |
dc.description.abstractalternative | Solving the problem congestion problem in Bangkok needs an indicator to classify level of services, Transport Research Board (TRB) as a benchmark, which is different in the aspects of the road physical condition and the vehicle operating condition. The objectives of this study were to study service levels in the driver's view of the traffic flow of motorcycles operating with other vehicles and to compare the service level assessment of motorists driving in traffic with motorcycles and other vehicles operating. The researchers collected data from 400 travelers in Bangkok in the study, which was divided into 189 motorcycle riders with no experience and 289 experienced motorists. The researcher collected data from the questionnaire and 6 simulated scenarios: the least traffic to the most traffic. The researcher uses the factors in the aspects of number of lanes, percentage of motorcycles in the view used to assess traffic conditions as the factors to be used to study the relationship with service levels. From the study, it was found that both groups were able to evaluate the traffic conditions viewed from the simulated video, analyze overall traffic condition and only with motorcycles and other vehicles only at 3 to 4 levels. The sample was unable to acknowledge traffic jams. From the study on the relationship between traffic condition analysis, it was found that the variables affecting the service level of the two groups were driving experience and number of traffic lanes. Based on the results of the study, the researcher suggests that the criteria for determining service levels should be developed to serve as indicators of road service levels that are consistent with the increasing demand for motorcycles. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.912 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | ระดับการให้บริการภายใต้กระแสจราจรที่มีจักรยานยนต์ร่วมกับยานพาหนะชนิดอื่น | - |
dc.title.alternative | LEVEL OF SERVICE UNDER TRAFFIC FLOW WITH MIXED MOTORCYCLE | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | ckasem2@chula.ac.th,kasemchoo@gmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.912 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5770354721.pdf | 3.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.