Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58580
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาชัญญา รัตนอุบล-
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ ปิตยานนท์-
dc.contributor.authorวิรัช คันศร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-27T08:55:37Z-
dc.date.available2018-04-27T08:55:37Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58580-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในการพัฒนาอาชีพของผู้รับการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (2) ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพของผู้รับการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (3) ศึกษาปัจจัยและข้อจำกัดที่ส่งผลต่อการนำรูปแบบการฝึกอบรม โดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในการพัฒนาอาชีพของผู้รับการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงานไปใช้ โดยแบ่งขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยออกเป็น 3 ตอน คือ (1) การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในการพัฒนาอาชีพของผู้รับการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (2) การศึกษาผลการใช้รูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในการพัฒนาอาชีพของผู้รับการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และ (3) การศึกษาปัจจัยและข้อจำกัดที่ส่งผลต่อการนำรูปแบบการฝึกอบรม โดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในการพัฒนาอาชีพของผู้รับการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงานไปใช้ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ฯ ที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห์สมรรถนะของงาน (2) การจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (3) การวางแผนการจัดทำหลักสูตรฝึกอบรม (4) การออกแบบและพัฒนาชุดการฝึกอบรม (5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามสถานการณ์ (6) การออกแบบและพัฒนาแผนการฝึกอบรม 7) การดำเนินการฝึกอบรม 8) การประเมินผลการฝึกอบรม และ 9) การปรับปรุงคุณภาพการฝึกอบรม 2. ผลการใช้รูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ฯ พบว่า ผู้รับการฝึก (1) มีสมรรถนะด้านความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ สูงกว่า 70% โดยมีคะแนนความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาหลังฝึกอบรม สูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) มีสมรรถนะด้านทักษะการปฏิบัติงานสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ สูงกว่า 80% (3) มีสมรรถนะด้านคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ สุงกว่า 70% 3. ผลการประเมินปัจจัยและข้อจำกัดในการนำรูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ไปใช้ พบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลอย่างมากต่อการนำรูปแบบการฝึกอบรมฯ ไปใช้ คือ สภาวะแวดล้อมก่อนการฝึกอบรม ทรัพยากรที่เหมาะสมที่ใช้ในการฝึกอบรม กระบวนการระหว่างการฝึกอบรม และผลสัมฤทธิ์หลังการฝึกอบรม (2) ข้อจำกัดที่ส่งผลต่อการนำรูปแบบการฝึกอบรมฯ ไปใช้ คือ นโยบายของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ความพร้อมของหน่วยฝึกอาชีพ ความรอบรู้ของผู้สอน และความร่วมมือของผู้รับการฝึกen_US
dc.description.abstractalternativeTo (1) develop the training model based on situation learning approach to enhance occupational competency of trainees in the Department of Skill Development; (2) study the results of using the training model based on situation learning approach to enhance occupational competency of trainess in the Department of Skill Development; (3) study factors and limitations effecting the utilization of the training model based on situation learning approach to enhance occupational competency of trainees in the Department of Skill Development. Research methodology can be divided into three steps: (1) develop training model based on situation learning approach to enhance occupational competency of trainees in the Department of Skill Development; (2) study results of using the training model based on situation learning approach to enhance occupational competency of trainees in the Department of Skill Development and (3) study factors and limitations when implementing the training model based on situation learning approach to enhance occupational competency of trainees in the Department of Skill Devleopment. The results were as follows: 1. The training model based on situation learning approach consisted 9 steps : (1) analyzing the competency of job, (2) setting job performance standards, (3) planning for the training course, (4) designing and developing the training packages, (5) develop situation learning process, (6) designing and developing the training plan, (7) implementing the training program, (8) evaluating, and (9) Improving quality of training. 2. The result of using the training model based on situation learning approach found that the trainees (1) have knowledge capability above the criterion score (higher than 70%). After training, the trainees have the average score of knowledge higher than knowledge score before taining at a significance level of .05, (2) have capability of working skill above the criterion score (higher than 80%), and (3) have a capability of working behavior above the criterion score (higher than 70%). 3. The result of implementing the training based on situation learning approach to enhance occupational competency found that (1) factors effecting the training program were condition before training, training resources, training process and result training, and (2) limitations effecting the training program were the Department of Skill Development policy, the training center preparation, the knowledge of trainer and the cooperation of trainee.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.913-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกรมพัฒนาฝีมือแรงงานen_US
dc.subjectการศึกษาผู้ใหญ่en_US
dc.subjectการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบประสบการณ์en_US
dc.subjectการพัฒนาอาชีพen_US
dc.subjectการฝึกอาชีพen_US
dc.subjectAdult educationen_US
dc.subjectNon-formal educationen_US
dc.subjectCareer developmenten_US
dc.subjectOccupational trainingen_US
dc.subjectExperiential learningen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ตามสถานการณ์ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะในการพัฒนาอาชีพของผู้รับการฝึก กรมพัฒนาฝีมือแรงงานen_US
dc.title.alternativeThe development of a training model based on situated learning approach to enhance occupational competency of trainees in the Department of Skill Developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorArchanya.R@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.913-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Virach Khansorn.pdf7.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.