Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์-
dc.contributor.authorศิริพร คติธรรมารักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-19T03:31:45Z-
dc.date.available2008-02-19T03:31:45Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743473025-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5861-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการประเมินความเชื่อถือได้ของระบบจำหน่ายไฟฟ้านั้นเกี่ยวข้องกับความไม่แน่นอนหลายประการ ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลทางสถิติของอุปกรณ์ ได้แก่ อัตราการเสียและอัตราการซ่อมแซมและปริมาณโหลด เพื่อที่จะทำให้การพิจารณาครอบคลุมความไม่แน่นอนในข้อมูลที่นำมาจากสถิติเหล่านี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงได้นำตัวเลขฟัซซีมาประยุกต์ใช้ โดยนำเสนอวิธีการประเมินความเชื่อถือได้ 4 วิธี ได้แก่ วิธีการวิเคราะห์เมื่อให้ข้อมูลของอุปกรณ์เป็นฟัซซี, วิธีการวิเคราะห์เมื่องให้ข้อมูลของอุปกรณ์และโหลดที่พิจารณาเป็นฟัซซี, วิธีการจำลองเหตุการณ์มอนติคาร์โลแบบตามลำดับเวลาเมื่อให้ข้อมูลของอุปกรณ์เป็นฟัซซี และวิธีการจำลองเหตุการณ์มอนติคาร์โลแบบตามลำดับเวลาเมื่อให้ข้อมูลของอุปกรณ์และโหลดที่พิจารณาเป็นฟัซซี จากนั้นจึงได้นำวิธีเหล่านี้ไปทดสอบกับระบบทดสอบ RBTS บัส 2 ซึ่งให้ผลลัพธ์ประกอบด้วย ดัชนีความเชื่อถือได้แต่ละจุดโหลด ดัชนีความเชื่อถือได้ของระบบ และอัตราค่าพลังงานไฟฟ้าดับ จากนั้นจึงนำผลที่ได้มาเปรียบเทียบกับวิธีวิเคราะห์ และวิธีการจำลองเหตุการณ์มอนติคาร์โลแบบตามลำดับเวลา จากผลการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่า ผลลัพธ์ที่ได้จากวิธีที่นำเสนอนี้ จะให้ข้อมูลเพื่อการวางแผนการปรับปรุงและขยายระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เป็นประโยชน์และครอบคลุมมากกว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณโดยวิธีแบบดั้งเดิมen
dc.description.abstractalternativeSince reliability assessment for electrical distribution system concerns several uncertainties consisting of statistical equipment data e.g. failure and repair rates, and loads. To cope with this problem, fuzzy number is introduced in this thesis. With the application of fuzzy principle, this thesis proposes four methods for assessing electrical distribution system consisting of 1) analytical method with input data representation base on fuzzy number, 2) analytical method with both input and load data represented by fuzzy number, 3) sequential Monte Carlo simulation with input data by fuzzy number, and 4) sequential Monte Carlo simulation with both input and load data represented by fuzzy number. All the proposed methods have been tested with RBTS-bus#2 test system. The obtained result consists of reliability indices at each load point, system reliability indices, and interrupted energy rates. Then they are compared with the obtained results from conventional analytical method and conventional sequential Monte Carlo simulation, we found that the proposed methods can provide more flexible result than conventional methods, which can be usefully implemented in electrical distribution system planing.en
dc.format.extent1425326 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความเชื่อถือได้ (วิศวกรรมศาสตร์)en
dc.subjectฟัสซีเซตen
dc.subjectวิธีมอนติคาร์โลen
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลังen
dc.titleการประยุกต์ใช้หลักการฟัซซีในการประเมินค่าความเชื่อถือได้ของระบบจำหน่ายไฟฟ้าen
dc.title.alternativeApplication of fuzzy principle in distribution system reliability evaluationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBundhit.E@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriporn.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.