Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวนิดา จีนศาสตร์-
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorสวีณา เกตุสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-02-19T03:39:47Z-
dc.date.available2008-02-19T03:39:47Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743465405-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5862-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractสารสร้างตะกอน โพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ เฟอร์ริกซัลเฟตและแคลเซียมไฮดรอกไซด์ สารช่วยตกตะกอน ชนิดแอนไอออนและแคทไอออน และความเป็นกรด-ด่างในกระบวนการตกตะกอนทางเคมีมีผลต่อประสิทธิภาพการลดค่าซีโอดีของน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมสิ่งทอ จากการศึกษาพบว่าสารสร้างตะกอนที่ลดค่าซีโอดีน้ำเสียจากบ่อพักได้สูงสุด คือ เฟอร์ริกซัลเฟต 250 มก./ล. เมื่อใช้สารช่วยตกตะกอนชนิดแคทไอออน 3.5 มก./ล. และพีเอชประมาณ 7 แต่น้ำที่ได้ค่าพีเอชต่ำมากคือ 4.11 ลดค่าซีโอดีได้ 57.8% ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำในการบำบัดน้ำให้เป็นกลางรวมกับสารตกตะกอนประมาณ 28 บาท/ลบ.ม. ส่วนโพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ 2,000 มก./ล. ร่วมกับสารช่วยตกตะกอนชนิดแคทไอออน 5.0 มก./ล. ที่พีเอชประมาณ 10 ลดค่าซีโอดีได้ 51.9% ค่าใช้จ่ายประมาณ 42 บาท/ลบ.ม. และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 400 มก./ล. ร่วมกับสารช่วยตกตะกอนชนิดแคทไอออน 3.50 มก./ล. ที่พีเอชประมาณ 7.5 ลดค่าซีโอดีได้ 48.3% ค่าใช้จ่ายประมาณ 30 บาท/ลบ.ม. นอกจากนี้สีและสารช่วยย้อมยังมีผลต่อค่าซีโอดีด้วยคือ เมื่อใช้เฟอร์ริกซัลเฟตกับน้ำย้อมประเภทสีดิสเพิส ไดเรกท์ รีแอคทีฟ เบสิค ลดค่าซีโอดีได้ 35.7, 36.2, 38.7 และ 30.7% ตามลำดับ ซึ่งสำหรับสีดิสเพิสและเบสิคใช้โพลีอลูมิเนียมคลอไรด์และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ลดค่าซีโอดีได้ 36.9 และ 35.7% ส่วนสารช่วยย้อมประเภทน้ำแป้งใช้โพลีอลูมิเนียมคลอไรด์ ลดค่าซีโอดีได้ 43.4% สารช่วยย้อมประเภทโซเดียมซัลเฟตใช้แคลเซียมไฮดรอกไซด์ลดได้ 42.5% ดังนั้นประสิทธิภาพการลดค่าซีโอดีกับพีเอช สารสร้างตะกอนและสารช่วยตกตะกอนมีความสัมพันธ์กันในรูปเส้นตรงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (P<0.05) โดยเฟอร์ริกซัลเฟตเป็นสารสร้างตะกอนที่ให้ประสิทธิภาพการลดค่าซีโอดีสูงสุดen
dc.description.abstractalternativeThe optimum and economical wastewater treatment method was studied to reduce textile-wastewater COD. Several parameters such as pH, coagulants (Polyaluminium chloride, Ferric sulphate and Calcium hydroxide) and anionic and cationic co-precipitant were varied in chemical precipitation process. Wastewater samples from equalizing pond and dyeing process were used in this study. Ferric sulphate 250 mg/L, cationic co-precipitant 3.5 mg/L, at initial pH 7 and final pH 4 reduced COD to 57.8%. The neutralizing expense was about 28 baht/m3. Polyaluminium chloride 2,000 mg/L, cationic co-precipitant 5.0 mg/L at pH 10 could reduce COD to 51.9%. The expense was about 42 baht/m3. Calcium hydroxide 400 mg/L, cationic co-precipitant 3.5 mg/L. at pH 7.5 could reduce COD to 48.3% with cost about 30 baht/m3. Dyes and additives also effected on COD. Ferric sulphate in wastewater containing Disperse dye, Direct dye, Reactive dye and Basic dye, COD in water samples were reduced to 35.7, 36.2, 38.7 and 30.7% respectively. Polyaluminium chloride and Calcium hydroxide reduced COD in Disperse dye and Basic dye wastewater to 36.9 and 35.7% respectively. Polyaluminium chloride decreased COD in wastewater containing starch additives to 43.4% and Calcium hydroxide decreased COD in Sodium sulphate additives water samples to 42.5%. The efficiency tests of COD removal, pH, coagulant and co-precipitant had calculated by multiple linear regression with significant differences at 95% confidence (P<0.05). Ferric sulphate was found as the most significant efficient coagulant.en
dc.format.extent1820448 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัดen
dc.titleการลดค่าซีโอดีในน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมสิ่งทอด้วยกระบวนการตกตะกอนทางเคมีกับโทลีอลูมิเนียมคลอไรด์, เฟอร์ริกซัลเฟตและแคลเซียมไฮดรอกไซด์en
dc.title.alternativeCOD removal of textile wastewater by chemical precipitation with polyaluminium chloride, ferric sulphate and calcium hydroxideen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJwanida@Chula.ac.th-
dc.email.advisorThares.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
saweena.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.