Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพสุ แก้วปลั่ง-
dc.contributor.authorกานต์ มุกดาสนิท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.date.accessioned2018-05-24T00:25:34Z-
dc.date.available2018-05-24T00:25:34Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58859-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ นำเสนอวิธีการวางเครื่องสังยุคเฟสแสงในโครงข่ายเส้นใยแสงที่ใช้การมัลติเพล็กซ์ความยาวคลื่น ซึ่งโครงข่ายที่พิจารณานั้น มีอยู่ด้วยกันสองลักษณะคือโครงข่ายแบบแพร่และเลือกสัญญาณ(broadcast-and-select network) และโครงข่ายแบบเมช(mesh network) ซึ่งวิธีที่นำเสนอนั้น จะทำให้โครงข่ายใช้จำนวนเครื่องสังยุคเฟสแสงได้น้อยกว่ากรณีที่ใช้เครื่องสังยุคเฟสแสงมากที่สุด นอกจากนั้น ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในกรณีที่โครงข่ายมีข่ายเชื่อมโยงเสียหาย ซึ่งมีกลไกการกู้คืนสัญญาณแบบเปลี่ยนเส้นทาง (path protection) วิธีการวางเครื่องสังยุคเฟสแสงนั้น ทำได้โดยการวิเคราะห์ทราฟฟิกของข้อมูลทั้งหมดและวิเคราะห์ตำแหน่งที่จะวางเครื่องสังยุคเฟสแสง รวมถึงหาค่าพารามิเตอร์ที่สามารถบอกได้ว่าโครงข่ายไหนใช้วิธีลดจำนวนเครื่องสังยุคเฟสแสงได้ หรือโครงข่ายไหนต้องวางไว้ที่ตำแหน่งกลางข่ายเชื่อมโยงทุกๆข่าย เนื่องจากเกิดปัญหาในการหาช่วงในการซ้อนทับทุกๆทราฟฟิกได้ไม่ทั้งหมด จึงได้คิดค้นระเบียบขั้นตอนวิธีเพื่อที่จะทำการซ้อนทับทุกๆทราฟฟิกให้ได้ทั้งหมด โดยใช้พารามิเตอร์ที่เรียกว่า ซึ่งสามารถช่วยตัดสินได้ว่า โครงข่ายนั้นสามารถใช้วิธีการวางเครื่องสังยุคเฟสแสงที่นำเสนอในวิทยานิพนธ์นี้ได้หรือไม่ เมื่อได้ทดลองใช้ระเบียบขั้นตอนวิธีที่ได้นำเสนอ ในโครงข่ายตัวอย่างแบบแพร่และเลือกสัญญาณ 1 ตัวอย่าง และโครงข่ายแบบเมช 3 ตัวอย่าง ได้แก่ OPEN ERNet และ NARNet โดยใช้ค่า ที่คิดค้นพัฒนาขึ้นในการลดขนาดโครงข่ายแต่ละโครงข่ายให้เหมาะสม พบว่าสามารถวางเครื่องสังยุคเฟสแสงได้ด้วยจำนวนน้อยกว่าการวางเครื่องสังยุคเฟสแสงในกรณีที่วางกลางข่ายเชื่อมโยงทุกๆข่ายen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis proposes a method for placing optical phase conjugators (OPCs) in WDM broadcast-and-select network (B&S network) and mesh network. Our method can be applied for reducing the number of OPC needed in the networks to be less than using the OPC in the middle of each link, in which the number of OPC is maximum. Moreover, it can applied in the network that faces a single-link failure protected by shared path protection. Our method is implemented by analyzing all possible traffics in the network, then find the ranges of OPC location, and find -parameter that determines whether the network can use our algorithm. According to the restriction that the OPC placable ranges of all traffics in a shared path must be overlapped, we derived -parameter that is useful to determine whether the network can employ OPC using our algorithm or it can only employ OPC in the middle of each link. We applied our method with scaling the network size using -parameter to 1 sample of the B&S network and 3 samples of the mesh networks; OPEN, ERNet and NARNet. The results, from all the sample networks, showed that our proposed method can efficiently help reducing the number of OPC to be less than using the OPC in the middle of each link.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1173-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสังยุคเฟสแสงen_US
dc.subjectเส้นใยนำแสงen_US
dc.subjectOptical phase conjugationen_US
dc.subjectOptical fibersen_US
dc.titleการวางตำแหน่งเครื่องสังยุคเฟสแสงในโครงข่ายเส้นใยแสงที่ใช้การมัลติเพล็กซ์ความยาวคลื่นอย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.title.alternativeEfficient placement of optical phase conjugators in WDM optical networksen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPasu.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1173-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KarnMukdasanit.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.