Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทยา ยงเจริญ-
dc.contributor.authorสิริพงศ์ เอี่ยมชัยมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-20T02:27:51Z-
dc.date.available2008-02-20T02:27:51Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741301103-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5889-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้เป็นการศึกษา และออกแบบเครื่องวัดอัตราการไหลแบบวอร์เท็กซ์ เพื่อใช้วัดอัตราการไหลของน้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ ส่วนสำคัญของเครื่องวัดอัตราการไหลที่สร้างขึ้นนี้อยู่ที่การนำเอาหลักการของการสั่นสะเทือนเชิงกล และหลักการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แสงมาประยุกต์ใช้กับการวัดความถี่ของวอร์เท็กซ์ที่เกิดขึ้น โดยเครื่องวัดอัตราการไหลที่สร้างขึ้นนี้จะใช้วัตถุมนรูปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00 มิลลิเมตร และ 1.50 มิลลิเมตร ทำหน้าที่เป็นตัวกำเนิดวอร์เท็กซ์ การทดลองเครื่องวัดอัตราการไหล จะทำการทดลองกับ น้ำ และ น้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน และทำการทดสอบความถูกต้องของเครื่องวัดอัตราการไหลด้วยวิธีการวัดแบบปริมาตรสะสม ผลการทดลองเครื่องวัดอัตราการไหล พบว่าเครื่องอัตราการไหลที่สร้างขึ้นสามารถวัดอัตราการไหลได้ในช่วงที่แคบ โดยเครื่องวัดอัตราการไหลที่ใช้วัตถุมนรูปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00 มิลลิเมตร เป็นตัวกำเนิดวอร์เท็กซ์ สามารถวัดอัตราการไหลได้ในช่วงระหว่าง 2.24 มิลลิลิตร ต่อ วินาที ถึง 3.47 มิลลิลิตร ต่อ วินาที เมื่อทดลองกับน้ำ และสามารถวัดได้ในช่วงระหว่าง 2.00 มิลลิลิตร ต่อ วินาที ถึง 3.16 มิลลิลิตร ต่อ วินาที เมื่อทดลองกับน้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน เมื่อเปลี่ยนขนาดของวัตถุมนเป็นวัตถุมนรูปทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.50 มิลลิลิตร พบว่าช่วงอัตราการไหลที่สามารถวัดได้ และเรโซลูชั่น (resolution) เปลี่ยนแปลงไป โดยสามารถวัดได้ในช่วงระหว่าง 1.82 มิลลิลิตร ต่อ วินาที ถึง 2.35 มิลลิลิตร ต่อ วินาที เมื่อทดลองกับน้ำ และสามารถวัดอัตราการไหลได้ในช่วงระหว่าง 1.61 มิลลิตร ต่อ วินาที ถึง 2.24 มิลลิลิตร ต่อ วินาที เมื่อทดลองกับน้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน โดยมีความผิดพลาดไม่เกิน 2 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาตรที่วัดที่สภาวะอัตราการไหลคงตัวen
dc.description.abstractalternativeThis research was the study and design of a vortex flowmeter for measuring the fuel flow rate of the vehicle engine. The important part of this flowmeter was the application of the vibration theory and the optoelectronic principle for measuring the vortex frequency. The cylindrical bluff body with diameter of 1.00 mm. and 1.50 mm. were used as the vortex generator in the flowmeter. The flowmeter was tested using both water and gasoline. The accuracy of the flowmeter was obtained by accumulated volume method. The results shown that the flowmeter could measure the fluid flow in narrow range. The flowmeter with 1.00 mm. diameter vortex generator could measure the water flow rate within the range of 2.24 ml/s. to 3.47 ml/s. and could measure the gasoline flow rate within the range of 2.00 ml/s. to 3.16 ml/s. When the bluff body's diameter was changed to 1.50 mm., the measurable range and resolution were also changed. The flowmeter with 1.50 mm. diameter vortex generator could measure the water flow rate within the range of 1.82 ml/s. to 2.35 ml/s. and could measure the gasoline flow rate within the range of 1.61 ml/s. to 2.24 ml/s. The error of the flowmeter was less than 2 percents of measured volume at steady flow.en
dc.format.extent10212549 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรถยนต์ -- ระบบเชื้อเพลิงen
dc.subjectของไหลen
dc.subjectวอร์เทกซ์เจเนอเรเตอร์en
dc.titleการศึกษาและออกแบบเครื่องวัดอัตราการไหลน้ำมันเชื้อเพลิงแบบวอร์เท็กซ์en
dc.title.alternativeStudy and design of a vortex fuel flowmeteren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfmewyc@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siripong.pdf9.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.