Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5892
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีพร ธนศิลป์-
dc.contributor.authorวนิดา รัตนานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-20T02:41:02Z-
dc.date.available2008-02-20T02:41:02Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741727909-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5892-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัด และศึกษาความสามารถในการพยากรณ์ของ ปัจจัยพื้นฐาน ความสามารถในการดูแลตนเอง และการสนับสนุนทางสังคมต่อคุณภาพชีวิต ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยหญิงโรคมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัด ที่มารับการตรวจตามนัดที่คลินิกศัลยกรรม ภปร. ชั้น 6 แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และที่คลินิกศัลยกรรม เต้านม แผนกผู้ป่วยนอก สถาบันมะเร็งแห่งชาติ จำนวน 130 คน เลือกโดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามปัจจัยพื้นฐาน ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิต ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงแล้ว มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93, .91 และ.81 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัด มีคุณภาพชีวิตโดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง (X=73.98) 2. การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการดูแลตนเอง การศึกษาประถมศึกษา รายได้ของครอบครัว 2,000-4,999 บาทต่อเดือน สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านมได้ 22% (R2=.218) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo study quality of life and the predictors including of quality of life of breast cancer patients after mastectomy. Study subjects consisted of 130 breast cancer women after mastectomy selected by purposive sampling from surgical out patient department of Chulalongkorn hospital and National Cancer Institutute. Study instruments were Basic Conditioning Factors (BCF), Self Care Agency (SCA), Social Support (SS), and Quality of Life (QOL) questionnaires. These questionnaires were tested for content validity and reliability. The alpha coefficients of SCA, SS, and QOL were .93, .91 and .81 respectively. Statistical methods of frequency, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression were used to analyze data. Major findings were as follows 1. The quality of life of breast cancer patients after mastectomy was at the high level (X = 73.98). 2. Factors significantly predicted quality of life of breast cancer women after mastectomy were social support (SS), self care agency (SCA), basic conditioning factors including primary school education level (ED2), and family income of 2,000-4,999 bahts per month (INCOM2) respectively. These predictors were accounted for 22 percents of variance (R2=.218).en
dc.format.extent5205695 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเต้านม -- มะเร็งen
dc.subjectเต้านม -- มะเร็ง -- ผู้ป่วยen
dc.subjectคุณภาพชีวิตen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐาน ความสามารถในการดูแลตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัดen
dc.title.alternativeRelationships between basic conditioning factors, self care agency, social support, and quality of life of breast cancer patients after mastectomyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSureeporn.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanida.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.