Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58997
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันเพ็ญ เตชะบุญเกียรติ | - |
dc.contributor.author | พรพรรณ ปรีดานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-06-03T03:25:05Z | - |
dc.date.available | 2018-06-03T03:25:05Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58997 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en_US |
dc.description.abstract | อนุภาคพอลิไอออนเชิงซ้อนถูกเตรียมโดยใช้ไคโตซานและโซเดียมไคโตซานฟอสเฟตโดยอนุภาคที่เตรียมได้จะมีลักษณะที่มีแกนกลางเป็นพอลิเมอร์ประจุบวกและเปลือกนอกเป็นพอลิเมอร์ประจุลบ ยาที่มีประจุจะถูกทดสอบความสามารถในการดูดซับบนอนุภาคพอลิไอออนเชิงซ้อน ยาลาเบทาลอลไฮโดรคลอไรด์ ยาโซเดียมไดโคลฟีแนค และ ยาอะเซทามิโนเฟนถูกเลือกมาเป็นต้นแบบของยาที่มีประจุบวก ประจุลบ และยาที่ไม่มีประจุ ตามลำดับ จากการวัดค่าร้อยละความสามารถในการดูดซับยา พบว่า อนุภาคพอลิไอออนเชิงซ้อนสามารถที่จะดูดซับยาที่มีประจุบวก ยาประจุลบและยาที่ไม่มีประจุได้ประมาณร้อยละ 0.0-0.7 เทียบกับน้ำหนักของอนุภาค ประจุที่ผิวของอนุภาคพอลิไอออนเชิงซ้อนก่อนและหลังการดูดซับยาถูกวิเคราะห์ด้วยการวัด ซีต้าโพเทนเชียล ยาที่มีประจุบวกจะดูดซับบริเวณเปลือกนอกของอนุภาคพอลิไอออนเชิงซ้อน ในขณะที่ยาที่มีประจุลบจะถูกดูดซับที่บริเวณรอบแกนกลางของอนุภาคพอลิไอออนเชิงซ้อน อันเนื่องมาจากปฏิสัมพันธ์ทางไฟฟ้า ส่วนการดูดซับยาที่ไม่มีประจุนั้น ยาที่ไม่มีประจุจะถูกดูดซับทั่วทุกบริเวณของอนุภาคพอลิไอออนเชิงซ้อนอันเนื่องมาจากการแพร่ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The polyion complex particles were prepared based on chitosan (CTS) and sodium chitosan phosphate (Na-P-CTS). The shape of polyion complex particles was core-shell consisting of cationic polymeric core and anionic polymeric shell. Absorption capability of ionic drugs onto polyion complex particles was tested. Labetalol hydrochloride (La), Sodium diclofenac (Di) and Acetaminophen (Pa) were selected as the cationic, anionic and neutral model drugs, respectively. The percentage of drug absorption capability was examined and found that cationic drug, anionic drug and neutral drug could be absorbed onto the polyion complex particles about 0.0-0.7 % by particles weight. The surface charges of the polyion complex particle before and after drug absorption were determined by Zeta potential. Owing to electrostatic interaction, cationic drug was absorbed at the shell region of the polyion complex particles, whereas the anionic drug was absorbed around the core region of the polyion complex particles. For neutral drug, it was absorbed through out the polyion complex particles, due to the diffusion. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2018 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ยา -- การดูดซึมและการดูดซับ | en_US |
dc.subject | ไคโตแซน | en_US |
dc.subject | โซเดียมไคโตแซนฟอสเฟต | en_US |
dc.subject | Drugs -- Absorption and adsorption | en_US |
dc.subject | Chitosan | en_US |
dc.subject | Sodium chitosan phosphate | en_US |
dc.title | ความสามารถในการดูดซับยาของพอลิไอออนเชิงซ้อนไคโตซานและโซเดียมไคโตซานฟอสเฟต | en_US |
dc.title.alternative | Drug absorption capability of chitosan/sodium chitosan phosphate polyion complex | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | wtachaboonyakiat@yahoo.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.2018 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pornpan Preedanon.pdf | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.