Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอวยพร เรืองตระกูล-
dc.contributor.authorพิทยรัฐ ควรหา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-06-22T09:32:50Z-
dc.date.available2018-06-22T09:32:50Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59181-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะทางสังคมของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคการจับคู่ร่วมคิด 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณและทักษะทางสังคมระหว่างนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคการจับคู่ร่วมคิดกับนักเรียน ที่ไม่ได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคการจับคู่ร่วมคิด กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 160 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม กลุ่มละ 40 คน และกลุ่มควบคุม 2 กลุ่ม กลุ่มละ 40 คน จัดการ วิจัยแบบกึ่งทดลองตามรูปแบบวิจัยสี่กลุ่มของโซโลมอน กลุ่มทดลองเรียนแบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคการจับคู่ ร่วมคิด กลุ่มควบคุมใช้การเรียนแบบปกติ เครื่องมือในการทดลองครั้งนี้แบ่งเป็น 4 แบบคือ 1) แผนการจัดการ เรียนรู้กลุ่มทดลอง 2) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มควบคุม 3)แบบทดสอบทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ 4) แบบทดสอบทักษะทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการ วิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคจับคู่ร่วมคิดมีคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนการทดลองอยู่ในระดับปกติ หลังการทดลองอยู่ในระดับค่อนข้างสูง ทักษะทางสังคมก่อนการทดลองอยู่ใน ระดับค่อนข้างสูง หลังการทดลองอยู่ในระดับสูง ส่วนนักเรียนที่ไม่ได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคจับคู่ร่วมคิดมี คะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนการทดลองและหลังการทดลองอยู่ในระดับปกติ ทักษะทางสังคม ก่อนการทดลองและหลังการทดลองอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคการจับคู่ร่วมคิดมีคะแนนทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณและคะแนนทักษะสังคมหลังการทดลองสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมแบบปกติอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยภาพรวมพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังได้รับ การจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคจับคู่ร่วมคิดมีคะแนนสูงกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคจับคู่ร่วมคิดร้อยละ 16.475 และค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะทางสังคมหลังได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคจับคู่ร่วมคิดมีคะแนนสูงกว่า ก่อนได้รับการจัดกิจกรรมด้วยเทคนิคจับคู่ร่วมคิดร้อยละ 12.083en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of quasi experiment research were 1) To study the level of critical thinking skills and social skills of students who had participated in the think-pair-share technique. 2) To compare the critical thinking skills and social skills of the students between the group which had participated in the think-pair-share technique and the group which had not participated in the think-pair-share technique. The group study of the students consists of 160 students in the 5th grade. The group study is divided into 2 experimented groups, 40 students in each group and 2 controlled group, 40 students in each group. The research is conducted of quasiexperimental Solomon four-group design. The experimental group cooperative learning of Think-Pair-Share technique. Control group using traditional learning. Tools for trial was divided into four types 1) lesson plans for the experimental group 2) lesson plans for the control group. 3) Tests of critical thinking skills, and 4) Tests of social skills. Statistical analysis by t test, ANOVA and MANOVA. The research finding were: 1) The students receiving the think-pair-share technique obtained the score of critical thinking skills at a normal level prior to receiving the treatment and at a relatively high level after receiving the treatment. They also obtained the score of social skill at a fairly high level before receiving the treatment and at a high level after receiving the treatment. On the other hand, the students who did not receiving the think-pair-share technique obtained the score of social skills at a normal level before and after receiving the treatment. These students also get the score of social skill at a relatively high level before and after receiving the treatment. 2) The student received the think-pair-share technique has more score of critical thinking skills and social skills than the other group who do not receive the activity. (p<.05) In general, the average of the score of critical thinking skills after the activity is higher than the score of critical thinking skills before the activity by 16.475 percentages. The average of the score of social skill after received the activity is higher than the score of the social skill before receiving the activity by 12.083 percentages.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.620-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ตัวแปรพหุen_US
dc.subjectทักษะทางสังคมen_US
dc.subjectทักษะทางการคิดen_US
dc.subjectความคิดอย่างมีวิจารณญาณen_US
dc.subjectMultivariate analysisen_US
dc.subjectSocial skillsen_US
dc.subjectThinking skillen_US
dc.subjectCritical thinkingen_US
dc.titleการวิเคราะห์พหุตัวแปรในการทดลองแบบสี่กลุ่มของโซโลมอน เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิคการจับคู่ร่วมคิดในการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะทางสังคมของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeA multivariate in Solomon four-group experiment to investigate the effects of using think-pair-share technique to develop critical thinking skills and social skills of fifth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAuyporn.R@chula.ac.th-
dc.description.publicationแฟ้มข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Text) ชื่อเรื่องนี้เป็นแฟ้มข้อมูลของนิสิตเจ้าของวิทยานิพนธ์ที่ส่งผ่านทางบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.620-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pittayarat Kuanha.pdf67.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.