Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59659
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชราภรณ์ ทัศจันทร์-
dc.contributor.advisorชุติมา ไตรรัตน์วรกุล-
dc.contributor.advisorเกศกาญจน์ เกศวยุธ-
dc.contributor.authorกมลวรรณ ศรีวงษ์ชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:11:27Z-
dc.date.available2018-09-14T05:11:27Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59659-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาทางเลือกสำหรับการเคลือบฟลูออไรด์เจลเฉพาะที่ ด้วยการเปรียบเทียบวิธีการทาบนตัวฟันด้วยพู่กัน (Paint on) กับวิธีถาดเคลือบ (tray) ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยศึกษาประสิทธิภาพของปริมาณฟลูออไรด์ที่คงค้างอยู่ในน้ำลาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยทางคลินิกแบบไขว้ ใช้อาสาสมัครจำนวน 19 คนที่มีช่วงอายุ 12-15 ปี ทำการเก็บน้ำลายชนิดไม่กระตุ้นก่อนและหลังการเคลือบฟลูออไรด์เจล ที่ 0, 5, 10, 20, 30 และ 60 นาที ระยะพัก (washout) 7 วัน วัดความเข้มข้นของฟลูออไรด์ในน้ำลายด้วยฟลูออไรด์อิเลคโทรด ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณฟลูออไรด์เจลที่เหมาะสมในวิธีการทาบนตัวฟัน คือ ปริมาตร 0.4 มิลลิลิตรซึ่งน้อยกว่าวิธีถาดเคลือบถึง 12.5 เท่า ผลของฟลูออไรด์ในน้ำลายและฟลูออไรด์ในช่องปากจากวิธีการทาบนตัวฟันมีปริมาณมากกว่าวิธีถาดเคลือบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F= 113.458, p= .0001, t = 7.695, p= .0001 ตามลำดับ) อัตราการไหลของน้ำลายไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (F=.121, p=.732 และค่าครึ่งชีวิต (t half-life) ของฟลูออไรด์ในน้ำลายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t= 3.505, p= .003) แม้ว่าวิธีการทาจะมีค่าครึ่งชีวิตสั้นกว่าแต่ความเข้มข้นของฟลูออไรด์ในน้ำลายมีค่าสูงกว่าวิธีถาดเคลือบทุกช่วงเวลาที่วัด สรุปได้ว่าการเคลือบฟลูออไรด์เจลด้วยวิธีการทาบนตัวฟันโดยใช้พู่กัน เป็นทางเลือกที่มีประสิทธิภาพสำหรับการเคลือบฟลูออไรด์เจลเฉพาะที่โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุสูงและไม่สามารถควบคุมการกลืนได้ นอกจากนี้ยังประหยัดทรัพยากร สะดวกในการบริหารจัดการ และอุปกรณ์หาได้ง่าย-
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was to determine the alternative application for professional topical fluoride (F) gel. The new Paint on technique was compared to a traditional tray technique in aspect of efficiency of salivary F retention. The 19 healthy children age 12-15 year-old participated in this clinical crossover study. The unstimulated saliva was collected before and after application immediately, 5, 10, 20, 30 and 60 minutes. The washout period was 7 days. Salivary F concentration was measured by an ion-specific electrode. The results showed the proper amount of F gel for paint on was 0.4 ml which was 12.5 times less amount than tray. The F concentration and amount of soluble F in paint on was significantly higher than those of tray (F= 113.458, p= .0001, t = 7.695, p= .0001, respectively). The salivary flow rate were not significant difference (F= .121, p=.732). and time half-life between 2 techniques were significant difference (t= 3.505, p= .003). Although the time half-life of paint on was shorter than those of tray but the F concentration of paint on was higher than those of tray at all time points. These results suggested that the novel paint on technique was effective as an alternative application of professional topical F gel. It might be useful for high caries risk patients who cannot control swallowing. Moreover, this technique is economical, environmental friendly and easy to handle-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.871-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectฟลูออไรด์-
dc.subjectเคลือบฟัน-
dc.subjectFluorides-
dc.subjectDental Enamel-
dc.titleวิธีการเคลือบฟลูออไรด์เจลเฉพาะที่อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นทางเลือกในการเคลือบด้วยถาดเคลือบ-
dc.title.alternativeEFFECTIVE DELIVERY OF TOPICAL FLUORIDE GEL AS AN ALTERNATIVE TO TRAY APPLICATION-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็ก-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorWacharaporn.T@Chula.ac.th,wacharaporn@gmail.com-
dc.email.advisorctrairat@gmail.com-
dc.email.advisorKasekarn.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.871-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5875801932.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.