Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุธี อนันต์สุขสมศรี-
dc.contributor.authorสุพัตรา กิ่งไทร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:16:50Z-
dc.date.available2018-09-14T05:16:50Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59768-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการเก็บเกี่ยวอ้อยด้วยวิธีการเผาเป็นกิจกรรมการเกษตรที่ส่งผลกระทบเชิงลบต่อพื้นที่เมือง ในช่วงฤดูการเผาเขม่าควันจากการเผาอ้อยสร้างมลพิษทางอากาศและปัญหาสุขภาพของประชากร รวมถึงปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยว หนึ่งในพื้นที่ที่ประสบปัญหาผลกระทบจากการเผาอ้อยอย่างมาก คือ พื้นที่อำเภอเมืองและอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ในปัจจุบันการเผาอ้อยเป็นกิจกรรมที่ผิดกฏหมาย รัฐบาลได้ออกกฏหมายและมาตรการเพื่อควบคุมการเผาอ้อย รวมถึงให้การสนับสนุนทางการเงินและเทคโนโลยีการเกษตรเพื่อลดการเผาอ้อย แต่ทว่าปริมาณการเผาอ้อยในพื้นที่ไม่ได้ลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ งานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์ในการศึกษามาตรการที่เหมาะสมในการควบคุมการเผาอ้อย โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญและการวิเคราะห์ด้วยกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytical Hierarchy Process: AHP) ผลการศึกษาพบว่ามาตรการที่เหมาะสมมากที่สุดในการลดการเผาอ้อยในพื้นที่อำเภอเมืองและอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี คือ (1) มาตรการให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำและความรู้ในการบริหารจัดการทรัพยากร (2) มาตรการหักเงินค่าอ้อยไฟไหม้ และเฉลี่ยคืนให้อ้อยสด (3) มาตรการห้ามเผาภายในพื้นที่รัศมี 5 กิโลเมตรจากเขตเทศบาลเมือง (4) มาตรการประกาศ 90 วัน ห้ามเผาอ้อย และ (5) มาตรการไม่รับซื้ออ้อยไฟไหม้จากเกษตรกร ตามลำดับ นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังได้ศึกษาระยะของพื้นที่กันชนที่เหมาะสมสำหรับการลดผลกระทบจากเขม่าควันจากพื้นที่ปลูกอ้อยด้วยวิธีการใช้แบบสอบถามซึ่งสามารถใช้เป็นทางเลือกหนึ่งในการศึกษาผลกระทบของมลพิษทางอากาศและพบว่าระยะที่เหมาะสมของแนวกันชนในอำเภอเมืองและอำเภอบ้านบึงควรมีระยะ 5 กิโลเมตร-
dc.description.abstractalternativeSugarcane burning is one of the agricultural activities imposing negative externalities upon urban areas. During the burning season, smoke and aerosols causes the air pollution and health problems as well as socioeconomic problems, especially on tourism. One of the cities hit hard by the impacts of sugarcane burning is the urban areas in the City of Chonburi and Ban Bung, Chonburi Province. Currently, sugarcane burning is an illegal activity in Thailand. The government has issued laws and regulations to control sugarcane burning as well as providing financial supports and agricultural technology to reduce the burning activities. However, the quantity of sugarcane burning in the area has not been significantly decreased. This research aims to examine suitable measures to control sugarcane burning by using expert in-depth interviews and Analytical Hierarchy Process (AHP). The study suggests that the most suitable measures to control sugarcane burning in the City of Chonburi and Ban Bung are (1) providing low interest loan, and knowledge on resource management, (2) lowering the price of harvesting burned cane and averaging back to the price of green cane, (3) setting a strictly non-burning buffer zone, (4) announcing the 90-day of non-sugarcane burning period, and (5) not buying harvesting burned cane, consecutively. In addition, this study examines the suitable distance for the buffer zone to reduce the impacts of sugarcane burning in the urban areas using field surveys and finds that the suitable distance of the buffer zone in the City of Chonburi and Ban Bung should be 5 kilometers.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.746-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectอ้อย -- การเก็บเกี่ยว-
dc.subjectมลพิษจากการเกษตร-
dc.subjectSugarcane -- Harvesting-
dc.subjectAgricultural pollution-
dc.titleผลกระทบของการเผาอ้อยต่อพื้นที่เมือง: กรณีศึกษาอำเภอเมืองและอำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี-
dc.title.alternativeTHE IMPACTS OF SUGARCANE BURNING ON URBAN AREAS: CASE STUDY OF THE CITY CHONBURI AND BAN BUNG, CHONBURI-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการวางแผนภาคและเมือง-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSutee.A@chula.ac.th,sutee.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.746-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5973326925.pdf7.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.