Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60560
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิบูลย์ ศรีเจริญชัยกุล-
dc.contributor.advisorดวงเดือน อาจองค์-
dc.contributor.authorปัญจลักษณ์ สอนเกตุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2018-11-07T09:37:50Z-
dc.date.available2018-11-07T09:37:50Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60560-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการแกซิฟิเคชันของเหง้ามันสำปะหลังเพื่อการผลิตแก๊สผลิตภัณฑ์ ซึ่งได้แก่ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สไฮโดรเจน แก๊สมีเทนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยใช้เตาปฏิกรณ์ไหลขึ้นชนิดเบดนิ่ง โดยศึกษาตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการเกิดแก๊สคือ อุณหภูมิ600 – 900 องศาเซลเซียส ค่าอัตราส่วนสมมูล 0.2 – 0.6 และตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะ ซึ่งได้แก่ นิกเกิล โคบอลต์ ซีเรียม เหล็กบนตัวรองรับแอลฟา อะลูมินา และโดโลไมท์ที่ผ่านการเผาเหลือเถ้า ผลการศึกษาพบว่าเมื่อแกซิฟายโดยไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานั้น อุณหภูมิที่ดีที่สุดของการเกิดแก๊สผลิตภัณฑ์คือ 900 องศาเซลเซียส ค่าอัตราส่วนสมมูล 0.4 ซึ่งจะได้อัตราส่วน H2/CO 0.6 และค่าความร้อนแก๊สผลิตภัณฑ์ 4.12 MJ/Nm3 และถ้าหากเพิ่มตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับอะลูมินาแล้วจะช่วยให้เกิดการแปรสภาพเป็นแก๊สเพิ่มขึ้น 1.60 และ 1.33 เท่า สำหรับคาร์บอนมอนอกไซด์และไฮโดรเจนและได้ตามลำดับ ค่าความร้อนแก๊สผลิตภัณฑ์เท่ากับ 8.61 MJ/Nm3 ที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียสและค่าอัตราส่วนสมมูลเดียวกัน ส่วนผลการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลที่มีแลนทานัมออกไซด์และแมกนีเซียเป็นตัวส่งเสริม โคบอลต์ ซีเรียมและเหล็ก บนตัวรองรับแอลฟา อะลูมินา และโดโลไมท์ที่ผ่านการเผาเหลือเถ้า พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กนั้นให้แก๊สผลิตภัณฑ์ที่ได้นั้นมากที่สุดร้อยละ 83.13en_US
dc.description.abstractalternativeGasification of cassava rhizome for production of fuel product was performed in this work. Cassava rhizome is the neck between stalk and tube. It is a short woody part connected the tube to the rest of the plant that is typically discarded, burnt or land filled by farmer, which creates not only adverse effect on the environment but also loss of potential energy source. The main objective in this research is to investigate the feasibility of gasification of cassava rhizome for synthesis gas (CO + H2) production, using a fixed bed reactor. The influence of operating parameters such as gasification temperatures (600 – 900 °C) and equivalence ratio (ER) of 0.2 – 0.6 were studied. Gas yields, H2/CO ratio and lower heating value (LHV) of gas product were measured. ER 0.4, reaction temperature of 900°C, indicated that ER 0.4 yielded the highest conversion. H2/CO ratio was 0.6 and LHV of gas product was 4.12 MJ/ Nm3 while addition of Ni/Al2O3 catalyst improved CO and H2 conversion for 1.6 and 1.33 times, respectively. LHV of gas product was 8.61 MJ/Nm3 at temperature of 800°C and ER of 0.4. In case of Ni-La-Mg, Co, CeO2 and Fe supported alumina and calcined dolomite catalyst, the highest gas yield was 83.13% when used Fe/Al2O3.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1611-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแกสซิฟิเคชันของชีวมวลen_US
dc.subjectมันสำปะหลังen_US
dc.subjectBiomass gasificationen_US
dc.subjectCassavaen_US
dc.titleแกซิฟิเคชันเหง้ามันสำปะหลังโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาบนตัวรองรับอะลูมินาen_US
dc.title.alternativeIn-situ gasification of cassava rhizome with catalysts supported aluminaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorViboon.Sr@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1611-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panchaluck Sornkade.pdf3.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.