Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60713
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ-
dc.contributor.authorช่อทิพวัลย์ รัตนนรชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-03T02:28:52Z-
dc.date.available2018-12-03T02:28:52Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60713-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนบนเว็บด้วยเครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์ที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนิสิตนักศึกษาคณะครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์และ 2) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนบนเว็บด้วยเครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนิสิต นักศึกษา คณะครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์ ตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือ นิสิตคณะครุศาสตร์ จำนวน 68 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนบนเว็บฯ 2) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อเครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์ สถิติที่ใช้คือ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าสถิติ t-test สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. รูปแบบการเรียนบนเว็บด้วยเครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์ที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ มี 5 องค์ประกอบ คือ 1) ระบบจัดการเรียนการสอน 2) กระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ 3) สื่อการเรียนการสอน 4) เครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์แบบ 5) แบบฝึกวิเคราะห์สถานการณ์การเลือกใช้สื่อ และมีขั้นตอนการเรียน 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเนื้อหาจากสื่อการเรียนการสอน 2) ทำแบบฝึกวิเคราะห์สถานการณ์การเลือกใช้สื่อด้วยเครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์ 3) ประเมินผล  2. นิสิตคณะครุศาสตร์มีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์หลังการเรียนด้วยรูปแบบการเรียนบนเว็บด้วยเครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจต่อการใช้เครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์ว่าสามารถช่วยกระตุ้นการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ได้ดี-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research aimed to 1) develop a web-based instruction model with visual graphics collaboration tools to enhance creative problem solving abilities of pre-service teacher and 2) examine the implementation of a web-based instruction model with visual graphics collaboration tools to enhance creative problem solving abilities of pre-service teachers. The samples were 68 pre-service teachers. The research instruments were 1) lesson plan based on WBI model 2) creative problem solving abilities test 3) a survey form with open questions to collect opinions of using visual graphics collaboration tools. Data were analyzed by using descriptive statistics and t-test The research results were follows: 1. A web-based instruction model with visual graphics collaboration tools consisted of five components: 1) learning management system, 2) creative problem solving process, 3) instruction media, 4) visual graphics collaboration tools, and 5) scenario of media selection practice. There were three learning steps; 1) learning from instruction media on learning management system, 2) analyzing the situation of media selection and using visual graphics collaboration tools,  and 3) evaluation. 2. Pre-service teachers had posttest score of creative problem abilities higher than pretest score after learning with web-based instruction model with visual graphics collaboration tools at the .05 level of significance; and had good satisfaction level of using visual graphics collaboration tools to enhance creative problem solving abilities.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.53-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectโปรแกรมสื่อทางการศึกษา-
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน-
dc.subjectProblem-based learning-
dc.subjectMedia programs ‪(Education)‬-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleรูปแบบการเรียนบนเว็บด้วยเครื่องมือการทำงานร่วมกันแบบวิชวลกราฟิกส์ที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนิสิตนักศึกษาคณะครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์-
dc.title.alternativeA web-based instruction model with visual graphics collaboration tools to enhance creative problem solving abilities of pre-service teachers-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPraweenya.S@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordWEB-BASED INSTRUCTION MODE-
dc.subject.keywordVISUAL GRAPHICS COLLABORATION TOOLS-
dc.subject.keywordCREATIVE PROBLEM SOLVING-
dc.subject.keywordPRE-SERVICE TEACHERS-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.53-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5683326227.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.