Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกริก ภิรมย์โสภา-
dc.contributor.advisorกฤษณ์ เจริญลาภ-
dc.contributor.authorพรรณาภรณ์ เกตุภู่พงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-03T03:00:15Z-
dc.date.available2018-12-03T03:00:15Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60861-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวินิจฉัยโรคที่คลาดเคลื่อนถือเป็นปัญหาสำคัญในวงการแพทย์ โดยปัจจุบันการวินิจฉัยโรคของแพทย์แต่ละคนจะแตกต่างกันไปตามความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมา รวมทั้งการวินิจฉัยโรคในบางครั้งแพทย์อาจลืมนึกถึงโรคบางโรคไป เนื่องจากเป็นโรคที่พบเจอได้ยากหรือไม่ค่อยพบเจอในผู้ป่วย ส่งผลให้การวินิจฉัยโรคเกิดความคลาดเคลื่อน โดยหลังจากที่แพทย์ได้ทำการวินิจฉัยโรคแล้ว ขั้นตอนต่อมาคือการจำแนกรหัสไอซีดีเทนซีเอ็มให้กับคำวินิจฉัยนั้น ซึ่งถือเป็นขั้นตอนที่ยุ่งยากสำหรับแพทย์ส่วนใหญ่ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีแนวคิดที่จะนำเสนอแบบจำลองสำหรับจำแนกประเภทโรคจากอาการ โดยการประยุกต์ใช้การทำเหมืองข้อความ เพื่อช่วยแพทย์ในการวินิจฉัยโรคและจำแนกรหัสไอซีดีเทนซีเอ็มได้ด้วยข้อมูลอาการของผู้ป่วย ซึ่งการสร้างแบบจำลองในงานวิจัยนี้จะเลือกใช้ตัวจำแนกประเภทที่นิยมใช้ในการทำเหมืองข้อความ ได้แก่ ต้นไม้ตัดสินใจ การเรียนรู้เบส์อย่างง่าย ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน และโครงข่ายประสาทเทียม มาเปรียบเทียบกันโดยใช้ระยะเวลาที่ใช้ในการสร้างแบบจำลอง ระยะเวลาที่แบบจำลองใช้ในการทำนาย กราฟเส้นโค้งอาร์โอซี อัตราผลบวกจริง อัตราผลบวกเท็จ ค่าความเที่ยง และค่าความแม่นมาเป็นตัวชี้วัด ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้พบว่าการใช้โครงข่ายประสาทเทียมเป็นตัวจำแนกประเภทในการสร้างแบบจำลองมีความเหมาะสมที่สุดสำหรับงานวิจัยนี้ เนื่องจากให้อัตราผลบวกจริงสูงสุดที่ร้อยละ 89.03 และมีพื้นที่ใต้เส้นโค้งของกราฟเส้นโค้งอาร์โอซีมากที่สุด-
dc.description.abstractalternativeNowadays, misdiagnoses account for a significant portion of medical errors. This is due to the fact that each physician’s diagnosis is different depending on the physician’s knowledge, skill, and experience. In several cases, physicians may ignore uncommon diseases. Also, after the diagnosis, the physician has to provide ICD-10-CM code. This is a difficult process for most (if not all) physicians. We propose a predictive model for classifying disease from symptoms by applying text mining technique. Our research technique allows physician to diagnose and to access an ICD-10-CM code directly from symptoms. Our models are based on several classifiers such as Decision Tree, Naïve Bayes, Support Vector Machine, and Neural Network. Models from each classifier were compared using training time, predicting time, Receiver Operating Characteristic (ROC) curve, True Positive Rate (TPR), False Positive Rate (FPR), precision and accuracy. The result suggests that Neural Network gives the best TPR at 89.03%.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1139-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการวินิจฉัยโรค-
dc.subjectเหมืองข้อมูล-
dc.subjectการวิเคราะห์การจำแนกประเภท-
dc.subjectDiagnosis-
dc.subjectData mining-
dc.subjectDiscriminant analysis-
dc.titleการประยุกต์ใช้การทำเหมืองข้อความเพื่อจำแนกประเภทโรคจากอาการ-
dc.title.alternativeApplying text mining for classifying disease from symptoms-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordการทำเหมืองข้อความ-
dc.subject.keywordการจำแนกประเภท-
dc.subject.keywordการประมวลผลข้อมูลก่อน-
dc.subject.keywordโรค-
dc.subject.keywordรหัสไอซีดีเทนซีเอ็ม-
dc.subject.keywordอาการ-
dc.subject.keywordClassification-
dc.subject.keywordData preparation-
dc.subject.keywordDisease-
dc.subject.keywordICD-10-CM-
dc.subject.keywordSymptom-
dc.subject.keywordText mining-
dc.subject.keywordComputer Science-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1139-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5970261121.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.