Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต งามจรัสศรีวิชัย-
dc.contributor.authorศิญดา ใจเย็น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-02-14T09:31:27Z-
dc.date.available2019-02-14T09:31:27Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61203-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดเบสจากเปลือกหอยสำหรับ ทรานส์เอสเทอริฟิเคชันของน้ำมันปาล์มกับเมทานอล การเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาใช้วิธีการละลาย-การตกตะกอน (dissolution-precipitation method) ซึ่งพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรก ขั้นตอนทั่วไปประกอบด้วย นำเปลือกหอยที่ผ่านการเผาที่ 400-800 องศาเซลเซียส มากวนผสมในสารละลายซิงค์ไนเตรต (Zn(NO3)2) กับอะลูมินา (Al2O3) ในภาวะกรด และนำของแข็งที่ได้ไปเผาที่อุณหภูมิ 300-900 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง ปัจจัยที่ศึกษาในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา ได้แก่ สัดส่วนองค์ประกอบของตัวเร่งปฏิกิริยา ความเป็นกรดเบสของของผสมที่จะเตรียมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ลำดับในการผสมองค์ประกอบต่างๆ อุณหภูมิในการเผาเปลือกหอย อุณหภูมิในการเผาตัวเร่งปฏิกิริยา และศึกษาลักษณะสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น X-ray fluorescence spectroscopy (XRF), powder X-ray diffraction (XRD), Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR), thermogravimetric/differential thermal analysis (TG/DTA), scanning electron microscopy (SEM), temperature-programmed desorption ของ CO2 (CO2-TPD) และ CO2- pulse chemisorption ภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา คือ ปริมาณซิงค์ออกไซด์ (ZnO) ร้อยละ 30 เทียบกับน้ำหนักของอะลูมินา (Al2O3), ปรับความเป็นกรดเบสของของผสมเท่ากับ 1, เวลาในการกวนสารละลายซิงค์ไนเตรตกับเปลือกหอย 2 ชั่วโมง, อุณหภูมิในการเผาเปลือกหอย 600 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิในการเผาตัวเร่งปฏิกิริยา 500 องศาเซลเซียส ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้ให้ร้อยละผลได้ของเมทิล เอสเทอร์สูงถึง 99 ที่อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลต่อน้ำมันเป็น 30 ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาร้อยละ 10 โดยน้ำหนักเทียบกับน้ำหนักน้ำมัน ภายในเวลา 3 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส และสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างน้อย 5 ครั้ง โดยที่ร้อยละผลได้ของเมทิลเอสเทอร์ยังสูงกว่า 96en_US
dc.description.abstractalternativeThe present thesis investigated preparation of heterogeneous base catalysts from shell for transesterification of palm oil with methanol. The catalysts were prepared by dissolution-precipitation method. Typically, shell was previously calcined 400-800 ˚C after which it was mixed with Zn(NO3)2 solution and Al2O3 under acidic conditions. The catalysts were attained after the calcination at 300-900 ˚C for 2 h. Effects of the catalysts preparation, including method composition, calcination temperature for shell, calcination temperature for catalysts, pH of synthesis of slurry mixture and step for adding catalyst ingredients, were investigated. The physicochemical properties of the catalysts were studied by using X-ray fluorescence spectroscopy (XRF), powder X-ray diffraction (XRD), Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR), thermogravimetric/differential thermal analysis (TG/DTA), scanning electron microscopy (SEM), temperature-programmed desorption of CO2 (CO2-TPD) and CO2- pulse chemisorption analysis. The suitable optimum conditions for preparing the catalysts are the amount of zinc oxide of 30 wt.% relative to alumina weight, adjust the pH of Zn(NO3)2 solution of 1, calcination temperature for shell of 600˚C and calcination temperature for catalyst of 500 ˚C. The catalyst attained gave the highest methyl ester yield of 99 wt.% at the methanol/oil molar ratio of 30, amount of catalyst of 10 wt.%, reaction temperature of 60˚C, reaction time of 3 h. The catalyst can be reused at least 5 times, giving the methyl ester yield of 96 wt.%en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1659-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์en_US
dc.subjectทรานเอสเทอริฟิเคชันen_US
dc.subjectเปลือกหอยen_US
dc.subjectHeterogeneous catalysisen_US
dc.subjectTransesterificationen_US
dc.subjectShellsen_US
dc.titleการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดเบสจากเปลือกหอยสำหรับทรานส์เอสเทอริฟิเคชันen_US
dc.title.alternativePreparation of heterogeneous base catalysts from shell for transesterificationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChawalit.Ng@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1659-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siyada Jaiyen.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.