Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมยศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.advisorอรรถพร ภัทรสุมันต์-
dc.contributor.authorเสกสรร สาธุธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-03T09:28:00Z-
dc.date.available2008-03-03T09:28:00Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743472444-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6148-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาเทคนิคการส่งผ่านร่วมกับการแผ่รังสีเพื่อการคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีซึ่งใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบโดยไม่ทำลาย โดยปรับปรุงระบบสแกนเก็บข้อมูลโปรไฟล์จากเทคนิคการส่งผ่านรังสีที่มีอยู่เดิมให้เป็นระบบสแกนที่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งเทคนิคการส่งผ่านรังสีและการแผ่รังสีแกมมา โดยใช้ซีเซียม 137 ความแรง 30 มิลลิคูรี เป็นต้นกำเนิดรังสีแบบเทคนิคการส่งผ่าน และใช้ต้นกำเนิดรังสีแกมมาชนิดต่างๆ รวม 4 ชนิด บรรจุอยู่ภายในชิ้นงานทดสอบที่ออกแบบไว้รวม 10 ชิ้นเป็นต้นกำเนิดรังสีสำหรับเทคนิคการแผ่รังสี ซึ่งได้แก่ ซีเซียม-137 ความแรง 20 ไมโครคูรี อิริเดียม-192 ความแรง 5 และ 500 ไมโครคูรี เทคนิเซียม-99m ความแรง 180 ไมโครคูรี และไอโอดีน-131 ความแรง 865 ไมโครคูรี ใช้หัววัดรังสีแบบซินทิลเลชันชนิดโซเดียมไอโอไดด์ (ทัลเลียม) ขนาด 2"x2" จัดระบบวัดรังสีโดยมีอุปกรณ์บังคับลำรังสีให้เป็นรังสีลำแคบ ขนาดลำรังสี 3 มิลลิเมตร เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องด้วยเครื่องวิเคราะห์แบบหลายช่องที่ควบคุมการทำงานโดยไมโครคอมพิวเตอร์ผ่านวงจรเชื่อมโยงสัญญาณ ระบบนี้สามารถใช้กับชิ้นงานทดสอบที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 30 เซนติเมตร และหนักไม่เกิน 500 กรัม จากการทดสอบชิ้นงาน 10 ชิ้น โดยใช้เทคนิคการส่งผ่านรังสีร่วมกับการแผ่รังสีพบว่า คุณภาพของภาพโทโมกราฟีที่ได้ให้ผลเป็นที่น่าพอใจen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to develop the combined transmission and emission technique for computed tomography which would be useful for nondestructive inspection by modification of the available gamma ray transmission scanning system. A 30 mCi Cs-137 gamma source was used as the transmission source, meanwhile a 2 muCi Cs-137, a 5 and a 500 muCi Ir-192, a 180 muCi Tc-99m, an 865 muCi I-131 were filled in 10 test objects used as the emission sources. A 2"x2" Nal(TI) scintillation detector with 3 mm beam collimator and a multichannal analyzer (MCA) were used in measuring the transmitted and emitted photons. The data acquisition system was continuously controlled by a microcomputer via the previously developed interface card. The maximum dimension and weight of the specimen that could be tested by this system were 30 cm in diameter and 500 g respectively. From the 10 specimens testing using the combined transmission and emission technique, quality of the computed tomographic images were found to be satisfactory.en
dc.format.extent1077861 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโทโมกราฟีย์en
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.titleการพัฒนาเทคนิคการส่งผ่านร่วมกับการแผ่รังสีสำหรับคำนวณสร้างภาพโทโมกราฟีen
dc.title.alternativeDevelopment of the combined transmission and emission technique for computed tomographyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomyot.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorAttaporn.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Seksan.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.