Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61570
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิต ธงทอง-
dc.contributor.authorวรพจน์ สินสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-02-26T14:03:31Z-
dc.date.available2019-02-26T14:03:31Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61570-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractกระบวนการสำคัญของงานก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน คือการปรับสภาพภูมิประเทศให้เป็นไปตามที่ออกแบบไว้ ซึ่งกระบวนการปรับสภาพพื้นที่ระหว่างกระบวนการก่อสร้างเหล่านี้ โดยปกติไม่สามารถติดตามตรวจสอบได้ ทำให้เกิดการทำงานซ้ำซ้อนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น เนื่องจากขาดระบบติดตามตรวจสอบที่เหมาะสมและสามารถสะท้อนสภาพพื้นที่จริงได้อย่างครบถ้วน ปัจจุบันอากาศยานไร้คนขับและวิธีการจัดทำแบบจำลองพื้นผิวภูมิประเทศเชิงเลขจากการประมวลผลภาพถ่ายทางอากาศได้พัฒนาขึ้นมาก สามารถสร้างแบบจำลองพื้นผิวภูมิประเทศเชิงเลขความละเอียดสูงของพื้นที่โครงการก่อสร้างได้ง่าย ใช้เวลาและค่าใช่จ่ายน้อย งานวิจัยนี้นําเสนอแนวคิดการพัฒนาระบบติดตามการทำงานซ้ำซ้อนของงานดินขุดและถมระหว่างกระบวนการก่อสร้างในโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วย 1) ระบบสำหรับเก็บข้อมูลภาคสนาม 2) ระบบสำหรับประมวลผลภาพถ่าย 3) ระบบสำหรับใช้วิเคราะห์ข้อมูลการทำงานซ้ำซ้อน กรณีศึกษาที่ใช้ทดสอบระบบเป็นโครงการก่อสร้างถนนทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง พื้นที่ก่อสร้างอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นเนินเขาและมีพื้นที่ก่อสร้างจำกัด ผลการทดสอบระบบในกรณีศึกษา สามารถตรวจวิเคราะห์การทำงานซ้ำซ้อนทั้งในส่วนของกิจกรรมงานขุดดินและกิจกรรมงานถมดินที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ทำการศึกษา อย่างไรก็ตามจากการทดสอบปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถูกต้องแม่นยำเชิงปริมาณในพื้นที่ทดสอบขึ้นอยู่กับระบบสำหรับเก็บข้อมูลภาคสนาม-
dc.description.abstractalternativeOne of the important procedures in an infrastructure construction project is to build a geographical area as designed. The process of adjusting a construction geometry during the construction is typically difficult to monitor, resulting in rework and unnecessary expenses. This problem happens due to the fact that there is no appropriate monitoring system that can be used to demonstrate a real site condition. Recently, a drone and photogrammetry methodology have been significantly upgraded and thus, high-resolution Digital Terrain Model (DTM) of site condition can be easily constructed with reducing amount of time and expenses. In this research, the monitoring system for rework in land excavation and backfilling during earthwork construction is developed. This research proposes three main modules, namely fieldwork monitoring system, image processing system, and analytical rework system. The highway project connected between cities was selected as a case study in this research since it is located in mountainous and limited area. The results in this study show that the rework in land excavation and backfilling during the construction of the project can be detected. However, the accuracy of the data depends on the precision of the fieldwork monitoring system.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1219-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการสำรวจด้วยภาพถ่าย-
dc.subjectอากาศยานไร้นักบิน-
dc.subjectแบบจำลองพื้นผิวภูมิประเทศเชิงเลข-
dc.subjectทางหลวง -- การออกแบบและการสร้าง-
dc.subjectPhotogrammetry-
dc.subjectDrone aircraft-
dc.subjectDigital elevation models-
dc.subjectRoads -- Design and construction-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleแบบจำลองพื้นผิวภูมิประเทศเชิงเลขจากอากาศยานไร้คนขับเพื่อช่วยติดตามงานดินขุดและถมในโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน-
dc.title.alternativeDigital terrain model from drone for infrastructure earthwork monitoring-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordการทำงานซ้ำซ้อน-
dc.subject.keywordแบบจำลองพื้นผิวภูมิประเทศเชิงเลข-
dc.subject.keywordอากาศยานไร้คนขับ-
dc.subject.keywordการประมวลผลภาพถ่าย-
dc.subject.keywordRework-
dc.subject.keywordDTM-
dc.subject.keywordDrone-
dc.subject.keywordPhotogrammetry-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1219-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5970300021.pdf6.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.