Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6165
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จรูญ มหิทธาฟองกุล | - |
dc.contributor.author | ธนะศักดิ์ ทุเรียน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-03-06T08:14:47Z | - |
dc.date.available | 2008-03-06T08:14:47Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9741304439 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6165 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | การพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพขององค์กรขนาดกลาง และขนาดเล็ก (SMEs) เป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากกับองค์กรต่างๆ ในยุคปัจจุบัน ซึ่งจะต้องจัดส่งสินค้าที่มีคุณภาพให้กับลูกค้า อันจะเป็นการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า เพื่อวัตถุประสงค์ในการที่ธุรกิจจะสามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ รวมทั้งเกิดผลกำไรจากการประกอบการสูงสุด ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ มีสาเหตุมาจากสภาพเศรษฐกิจของประเทศที่ตกต่ำลงอย่างมากในช่วงเวลาที่ผ่านมา สำหรับองคืกรที่ทำวิจัยก็ประสบปัญหาดังกล่าวข้างต้น ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการทำวิจัยในครั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพ ในการที่จะนำไปสู่การประกันว่าชิ้นงานหรือผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ผ่านการผลิตในแต่ละขั้นตอนจนถึงลูกค้า จะมีคุณภาพที่ดีขึ้น กล่าวคือ มีเปอร์เซ็นต์ของเสียในกระบวนการผลิตลดลง, คำร้องเรียนจากลูกค้าลดลง จนกระทั่งบรรลุตามนโยบายคุณภาพที่ผู้บริหารกำหนด โดยรูปแบบของระบบควบคุมคุณภาพที่ได้จัดตั้งขึ้น กล่าวคือ การนำเอาระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 เข้ามาประยุกต์ใช้ในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ในแต่ละกระบวนการผลิต โดยเริ่มตั้งแต่การจัดเตรียมวัตถุดิบ/เคมี จนกระทั่งถึงการบรรจุ หลังจากนั้นได้มีการปฏิบัติการแก้ไขและป้องกันปัญหาทางด้านคุณภาพที่ประสบอยู่ รวมทั้งการเฝ้าระวังปัญหาต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น ไม่ให้เกิดขึ้นซ้ำอีกด้วย เครื่องมือทางด้าน QC จะถูกนำมาใช้ เมื่อดำเนินการจนกระทั่งบรรลุตามนโยบายคุณภาพที่กำหนด จะดำเนินการจัดทำมาตรฐานต่างๆ ขึ้นมาควบคุมการปฏิบัติงาน โดยที่มีระบบควบคุมคุณภาพที่จัดตั้งขึ้นมาข้างต้น เป็นแกนหลักในการควบคุม โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงานดังนี้ 1. การจัดตั้งระบบควบคุมคุณภาพ 2. วิเคราะห์ผล 3. การดำเนินการแก้ไข และป้องกันด้วยเครื่องมือทางด้าน QC 3.1 QC 7 TOOLS ในที่นี้คือ กลวิธีทางสถิติ 3.2 การวิเคราะห์ความล้มเหลว (Failure Mode and Effective Analysis ; FMEA) 4. การประเมินผลหลังการแก้ไข/ปรับปรุง) 5. การจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน ผลงานวิจัย พบว่าสามารถลดเปอร์เซ็นต์ของเสียในระหว่างกระบวนการผลิต และคำร้องเรียนจากลูกค้าที่เกิด เนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดซึ่งสูงมาก ในช่วงเดือนตุลาคม 2541 ถึงเดือนมกราคม 2542 ซึ่งเป็นช่วงก่อนทำงานวิจัย จนกระทั่งเปอร์เซ็นต์ของเสียในระหว่างกระบวนการผลิตไม่เกิน 3 เปอร์เซ็นต์ และ คำร้องเรียนจากลูกค้าเป็น 0 รวมถึงมีระบบควบคุมคุณภาพเกิดขึ้นภายในองค์กร ในช่วงเดือนสิงหาคม 2542 ถึงเดือนกรกฎาคม 2543 | en |
dc.description.abstractalternative | A development of quality control system for small and medium enterprises is important for present organization. They must send product which is the best quality to customers for build in customer satisfaction result in, their business can complete and build maximum profit. The cause came from macro economic of country which had been fallen. For the organization which was researched, confronted the same problems as above. The research's purpose is a development of quality control system to assure that the products which had produced in each process until sent to the customer are quality up. They have meaning of the decreasing of defect percentage and customer complaint until to achieve quality policy. The form of quality control system which has built is to use requirement of ISO 9000, apply to quality control every production process (since raw material preparing to packing) after that corrective action of products will be started recurrence prevention by QC tools method. When achieve to quality policy, all performance will be made to standardization and follow up quality control system. For the steps of working as follow:- 1. Set up quality control system 2. Analysis 3. Corrective and preventive action by 3.1 QC 7 tools is statistical method 3.2 Failure mode and effective analysis ; FMEA 4. Evaluation 5. The standardization. The result of research showed the defect percentage decreasing and the customer complaint, during October 1998 to January 1999 which was the period before the research to less than for 3% defects and 0 customer complaint. And then the organization quality control system was been set up during August 1999 to July 2000 which was the period of research. | en |
dc.format.extent | 18878698 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การควบคุมคุณภาพ | en |
dc.subject | โรงงานผลิตชิ้นส่วนยาง | en |
dc.title | การพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนยาง | en |
dc.title.alternative | A development of quality control system : a case study of rubber parts industry | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Charoon.M@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Tanasak.pdf | 18.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.