Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6167
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.authorภัทรพร สิงห์ชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-06T08:32:02Z-
dc.date.available2008-03-06T08:32:02Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741798172-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6167-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างช่วงการฝึกปฏิบัติประกอบบทเรียนวีดิทัศน์ กับระดับความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ กลุ่มวิชาการงานและพื้นฐานอาชีพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การแบ่งระดับความคิดสร้างสรรค์ใช้แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ของ ทอแรนซ์แบบ A ส่วนการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัดจากการประเมินผลงานการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง ผลการวิจัยนี้พบว่า 1. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน ที่มีระดับความคิดสร้างสรรค์ต่างกัน เมื่อเรียนด้วยการใช้สื่อวีดิทัศน์ ประกอบการสอนแบบสาธิตที่กำหนดช่วงการฝึกปฏิบัติ ในระหว่างการนำเสนอเนื้อหาตามลำดับ และเรียนโดยการใช้สื่อวีดิทัศน์ประกอบการสอนแบบสาธิต ที่กำหนดช่วงการฝึกปฏิบัติเมื่อนำเสนอเนื้อหาจบแต่ละตอน เมื่อเรียนแบบฝึกปฏิบัติมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 2. นักเรียนที่มีระดับความคิดสร้างสรรค์ต่างกัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 3. นักเรียนที่เรียนด้วยการใช้สื่อวีดิทัศน์ประกอบการสอนแบบสาธิต ที่กำหนดช่วงการฝึกปฏิบัติในระหว่างการนำเสนอเนื้อหาตามลำดับ และเรียนโดยการใช้สื่อวีดิทัศน์ประกอบการสอนแบบสาธิต ที่กำหนดช่วงการฝึกปฏิบัติเมื่อนำเสนอเนื้อหาจบแต่ละตอน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05en
dc.description.abstractalternativeTo investigate the effect of creativity levels : high and low and between practice periods accompanied tasks in teaching craft by using video lesson upon the learning achievement of prathom suksa four students. The creativity levels were categorized by Torrance Thinking Creative Test Form A. The achievement of the subjects were evaluated by cognitive learning and the creativity of tasks. The data were analyzed by mean of Two way ANOVA analysis of variance. The findings were as follows : 1.There was an interaction between levels of creativity and between practice periods accompanied video lesson at 0.05 level of significance. 2.There was significance difference at 0.05 between the subjects with different levels of creativity learning from video lesson. 3. There was no significance difference between practice periods accompanied video lesson.en
dc.format.extent4856084 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพen
dc.subjectการสอนด้วยสื่อen
dc.subjectวีดิทัศน์เพื่อการศึกษาen
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ในเด็กen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.titleปฏิสัมพันธ์ระหว่างช่วงการฝึกปฏิบัติประกอบบทเรียน วีดิทัศน์กับระดับความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ วิชากลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeAn interrection between practice periods accompanied by a video lesson and creative thinkings levels upon handicraft learning achievement in the area of work-oriented experiences of prathom suksa four studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSugree.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phattaraporn.pdf4.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.